หลักเกณฑ์การถอดแบบคำนวณปริมาณวัสดุ งานก่อสร้างทาง สะพานและท่อหลี่ยม(3/3)
13)วัสดุรองพื้น
ทรายหยาบบอดอัดแน่นด้วยแรงคน โดยเผื่อการยุบตัว 25%
14)ลวดผูกเหล็กเสริม
ให้คิดคำนวณ 25 กก. , เหล็กเสริม 1,000 กก.
15)งานเหล็กเสริมคอนกรีต
15.1)เหล็กเส้นกลมผิวเรียบ คุณภาพ SR-24
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 มม. น้ำหนัก 0.222 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 9 มม. น้ำหนัก 0.499 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 มม. น้ำหนัก 0.888 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15 มม. น้ำหนัก 1.390 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 19 มม. น้ำหนัก 2.230 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 มม. น้ำหนัก 3.850 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 28 มม. น้ำหนัก 4.830 กก./ม.
15.2) เหล็กเส้นกลมผิวข้ออ้อย คุณภาพ SD-30 และ SD-40
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 มม. น้ำหนัก 0.888 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 16 มม. น้ำหนัก 1.580 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 มม. น้ำหนัก 2.470 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 มม. น้ำหนัก 3.850 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 28 มม. น้ำหนัก 4.830 กก./ม.
15.3)ลวดเหล็กอัดแรง PC WIRE
PC 4 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 มม. น้ำหนัก 0.099 กก./ม.
PC 5 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 มม. น้ำหนัก 0.154 กก./ม.
PC 7 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 มม. น้ำหนัก 0.302 กก./ม.
PC 9 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 9 มม. น้ำหนัก 0.499 กก./ม.
15.4) ลวดเหล็กตีเกลียว ชนิด 7 เส้น
-ชั้นคุณภาพ 1725
SPC 4 A ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 9.53 มม. น้ำหนัก 0.405 กก./ม.
SPC 12 A ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12.70 มม. น้ำหนัก 0.730 กก./ม.
SPC 15 A ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15.24 มม. น้ำหนัก 1.094 กก./ม.
-ชั้นคุณภาพ 1860
SPC 9 B ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 9.53 มม. น้ำหนัก 0.432 กก./ม.
SPC 12 B ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12.70 มม. น้ำหนัก 0.775 กก./ม.
SPC 15 B ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15.24 มม. น้ำหนัก 1.102 กก./ม.
การเผื่อส่วนสูญเสียสำหรับลวดเหล็กอัดแรงและลวดเหล็กตีเกลียวคิดคำนวณเผื่อสูญเสียในการดึงลวดที่ปลายทั้งสองด้านๆละ 1.00 เมตร ต่อลวด 1 เส้น
16)งานหินเรียง(RIPRAP)
ปริมาณหินเรียงคิดคำนวณตามแบบ มีหน่วยเป็น ลบ.ม.
ปริมาณหินเรียง 1 ลบ.ม.ใช้วัสดุ
หินใหญ่ 1.15 ลบ.ม. , ปูนซีเมนต์ 200 กก. , ทราย 0.56 ลบ.ม.
17)เข็มพืด(Sheet Pile)ป้องกันการพังทลายของดิน
การใช้เข็มพืด(Sheet Pile)ป้องกันการพังทลายของดิน ให้ประเมินราคาต้นทุน โดยพิจารณาจากความลึกวิกฤติ(Hc) ของการขุดดินในพื้นที่ต่างๆจากสูตร ดงันี้
Hc = 4*Su/(v*F.S.)
โดยที่
Hc = ความลึกวิกฤติ (Critical Height)
Su = กำลังรับแรงเฉือน (Undrained Shear Strength)
v =หน่วยน้ำหนักของดิน (Unit Weight)
F.S. = อัตราส่วนความปลอดภัย (f=Factor of Safety)
Su < 1.25 ตัน/ตร.ม. กรณีดินอ่อนมาก
Su = 1.25-1.99 ตัน/ตร.ม. กรณีดินอ่อน
Su = 2 ตัน/ตร.ม. ขึ้นไป กรณีดินแข็ง
v = 1.5 ตัน/ลบ.ม.
F.S. = 1 กรณีต้องมีเข็มพืด (Sheet Pile)
กรณีมีการถมดินเพิ่มให้รวมความสูงดินถมใน Hc ด้วย
จากสูตรดังกล่าวจะได้ค่าความลึกวิกฤติ (Hc) ดังนี้
ในพื้นที่ดินอ่อนมาก Hc = 1.67 เมตร โดยประมาณ
ในพื้นที่ดินอ่อน Hc = 4.33 เมตร โดยประมาณ
ในพื้นที่ดินแข็ง Hc = 5.33 เมตร โดยประมาณ
จึงกำหนดให้ใช้เข็มพืด (Sheet Pile) ในการประเมินราคาต้นทุน ดังนี้
ในพื้นที่ดินอ่อนมาก การขุดลึกมากกว่า 1.70 เมตร ให้ใช้เข็มพืด (Sheet Pile)
ในพื้นที่ดินอ่อน การขุดลึกมากกว่า 4.30 เมตร ให้ใช้เข็มพืด (Sheet Pile)
ในพื้นที่ดินแข็ง การขุดลึกมากกว่า 5.00 เมตร ให้ใช้เข็มพืด (Sheet Pile)
ที่มา : หน้า61 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
F.S. = อัตราส่วนความปลอดภัย (f=Factor of Safety)
Su < 1.25 ตัน/ตร.ม. กรณีดินอ่อนมาก
Su = 1.25-1.99 ตัน/ตร.ม. กรณีดินอ่อน
Su = 2 ตัน/ตร.ม. ขึ้นไป กรณีดินแข็ง
v = 1.5 ตัน/ลบ.ม.
F.S. = 1 กรณีต้องมีเข็มพืด (Sheet Pile)
กรณีมีการถมดินเพิ่มให้รวมความสูงดินถมใน Hc ด้วย
จากสูตรดังกล่าวจะได้ค่าความลึกวิกฤติ (Hc) ดังนี้
ในพื้นที่ดินอ่อนมาก Hc = 1.67 เมตร โดยประมาณ
ในพื้นที่ดินอ่อน Hc = 4.33 เมตร โดยประมาณ
ในพื้นที่ดินแข็ง Hc = 5.33 เมตร โดยประมาณ
จึงกำหนดให้ใช้เข็มพืด (Sheet Pile) ในการประเมินราคาต้นทุน ดังนี้
ในพื้นที่ดินอ่อนมาก การขุดลึกมากกว่า 1.70 เมตร ให้ใช้เข็มพืด (Sheet Pile)
ในพื้นที่ดินอ่อน การขุดลึกมากกว่า 4.30 เมตร ให้ใช้เข็มพืด (Sheet Pile)
ในพื้นที่ดินแข็ง การขุดลึกมากกว่า 5.00 เมตร ให้ใช้เข็มพืด (Sheet Pile)
ที่มา : หน้า61 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น