ในกรณีของกรมทางหลวง นอกเหนือจากข้อกำหนดทั่วไปเกี่ยวกับราคาและแหล่งวัสดุ ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางในงานก่อสร้างของกรมทางหลวงยังสามารถใช้ข้อมูลเกี่ยวกับราคาและแหล่งวัสดุก่อสร้างดังต่อไปนี้ได้ด้วย
1)ข้อมูลวัสดุจากสำนักทางหลวง/สำนักงานทางหลวง กรมทางหลวง
กรมทางหลวงมีหน่วยงานในส่วนภูมิภาคที่มีหน้าที่ในการกำกับดูแลและบำรุงรักษาสภาพทางหลวงทั่วประเทศ และแต่ละสำนักทางหลวง/สำนักงานทางหลวงมีส่วนตรวจสอบและวิเคราะห์ทางวิศวกรรม เพื่อทำหน้าที่ตรวจสอบคุณภาพวัสดุก่อสร้างจากแหล่งต่างๆ ที่แขวงการทาง/สำนักงานบำรุงทางในสังกัดสามารถนำไปใช้ในการรักษาสภาพ บูรณะหรือก่อสร้างทางหลวงที่อยู่ในความรับผิดชอบ ดังนั้นแต่ละแขวงการทาง/สำนักงานบำรุงทางจึงมีข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างในพื้นที่อยู่แล้ว ผู้ที่มีหน้าที่คำนวณราคากลางจึงสามารถขอข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งและราคาวัสดุต่างๆ จากสำนักทางหลวง/สำนักงานทางหลวงในพื้นที่ที่จะดำเนินการก่อสร้างสายทางนั้นๆได้ โดยข้อมูลที่ขอทราบจากสำนักทางหลวง/สำนักทางหลวงได้ ตามปกติจะประกอบด้วย
1.1)ข้อมูลวัสดุก่อสร้าง ดังต่อไปนี้
-ดินถมคันทาง
-ทรายถมคันทาง
-วัสดุคัดเลือก " ก "
-วัสดุคัดเลือก " ข "
-วัสดุรองพื้นทางลูกรัง
-วัสดุหินคลุก
-ทรายรองพื้นใต้ผิวคอนกรีต
-ทรายผสมคอนกรีต
-หินผสมคอนกรีต
-หิน Single Size ขนาดต่างๆ
1.2)ราคาน่ำมันโซล่า หน้าสถานีจำหน่ายน้ำมัน ปตท. ในอำเภอเมืองของจังหวัดที่เป็นพื้นที่ของสายทางที่จะทำการก่อสร้าง
1.3)การสอบถามข้อมูลราคาวัสดุก่อสร้างจากสำนักทางหลวง ควรแจ้งคุณสมบัติและปริมาณของวัสดุที่ต้องการใช้ด้วย เพื่อเจ้าหน้าที่สำนักทางหลวงในส่วนภูมิภาคจะได้ให้ข้อมูลได้ถูกต้องตามข้อเท็จจริง
2)แหล่งวัสดุเหล็กเส้นและลวดสำหรับคอนกรีตอัดแรง
เหล็กเส้นและลวดสำหรับคอนกรีตอัดแรง ให้คิดคำนวณระยะขนส่งจากแหล่งที่เป็นจริง เช่น ถ้าใช้แหล่งที่กรุงเทพ ก็ต้องใช้ระยะขนส่งจากกรุงเทพ เป็นต้น
3)แหล่งวัสดุปอร์ตแลนด์ซีเมนต์
แหล่งของปอร์ตแลนด์ซีเมนต์ ให้กำหนดจากแหล่งที่เป็นจริงทั้งทางด้านคุณภาพและปริมาณการจำหน่าย เช่น ตามคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.15-2514 ประเภท 1 และประเภท 3 อาจคิดคำนวณจากแหล่งผลิตจำหน่ายในกรุงเทพหรือจากโรงงานผลิตอื่นที่ใกล้หน้างานและตามแหล่งแนะนำดังนี้
3.1)บริษัทปูนซีเมนต์ จำกัด
-อำเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี
-อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี
-อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
3.2)บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด
-อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี
3.3)บริษัท ชลประทานซีเมนต์ จำกัด
-อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
- อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์
3.4)บริษัท TPI Polene Public จัำกัด (มหาชน)
-อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี
3.5)บริษัท ปูนซีเมนต์เอเชีย จำกัด
-อำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี
4)แหล่งยางวัสดุแอสฟัลต์
4.1)บริษัท เอสโซ่(ประเทศไทย) จำกัด(มหาชน)
-โรงงาน อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
4.2)บริษัท ไทยออยล์ จำกัด
-โรงงาน อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
4.3)บริษัท เชลล์ แห่งประเทศไทย จำกัด
-โรงงาน มี 2 แห่ง คือ ช่องนนทรีย์ จังหวัดกรุงเทพ และ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
4.4)บริษัททิปโก้แอสฟัลต์ จำกัด(มหาชน)
-โรงงาน มี 4 แห่ง คือ อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา , อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณูโลก , อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี และ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
4.5)บริษัท สุราษฏร์บิทูเมน จำกัด
-โรงงาน มี 2 แห่ง คือ ตำบลบางกุ้ง อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฏร์ธานี และ ตำบลท่าโรงช้าง อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฏ์ธานี
4.6)บริษัท สตาร์ปิโตรเลียมรีไฟน์นิ่ง จำกัด
-โรงงาน มาบตาพุด จังหวัดระนอง
4.7)บริษัท เรย์โคลแอสฟัลต์ จำกัด
-โรงงาน เขตพญาไท กรุงเทพ
ที่มา : หน้า 209 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
วันพุธที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
48 รายการหลักเกณฑ์การประเมินราคาต้นทุนต่อหน่วยงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม(3/3)
รายการหลักเกณฑ์การประเมินราคาต้นทุนต่อหน่วยงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม(3/3)
6.4(1)ขอบคันหินรางตื้น(Barrier Curb and Gutter)(DWG.No.RS-508)
Gutter หนา 0.25 เมตรและกว้าง 0.30 เมตร
6.4(2)ขอบคันหิน(Barrier Curb)(DWG.No.RS-508)
Barrier Curb สูง 0.45 เมตร
6.4(3)ขอบคันหินรางตื้นแบบรถปีนได้ (Mountable Curb and Gutter)(DWG.No.RS-508)
Gutter หนา 0.25 เมตร กว้าง 0.30 เมตร
6.4(4)ขอบคันหินแบบรถปีนได้(Mountable Curb)(DWG.No.RS-508)
Mountable Curb สูง 0.40เมตร
6.4(5.1)แผงกั้นคอนกรีตแบบที่ 1(Concrete Barrier Type I)(DWG.No.RS-501)
6.4(5.2)แผงกั้นคอนกรีตแบบที่ 1สำหรับงานดินตัดลึกและถมสูง(Concrete Barrier Type I for Deep Cut and High Fill)(DWG.No.RS-503)
6.4(5.3)แผงกั้นคอนกรีตแบบที่ 2(Concrete Barrier Type II)(DWG.No.RS-502)
6.4(5.1.1)แผงกั้นคอนกรีตแบบที่ 1(Pre-Cast Concrete Barrier Type I)(DWG.No.RS-504)
6.4(5.3.1)แผงกั้นคอนกรีตแบบที่ 2(Pre-Cast Concrete Barrier Type II)(DWG.No.RS-505)
6.4(5.4)แผงกั้นคอนกรีต ที่ส่วนลู่เข้าหาสะพาน(Concrete Barrier at Bridge Approach)(Dwg.No.RS-506)
6.4(6.1)แผงกั้นคอนกรีต ที่ส่วนลู่เข้าชนิดA(Approach Concrete Barrier Type A)(Dwg.No.RS-501)
6.4(6.2)แผงกั้นคอนกรีต ที่ส่วนลู่เข้าชนิดB(Approach Concrete Barrier Type B)(Dwg.No.RS-501)
6.4(6.3)แผงกั้นคอนกรีต ที่ส่วนลู่เข้าชนิดC(Approach Concrete Barrier Type C)(Dwg.No.RS-502)
6.4(6.4)แผงกั้นคอนกรีต ที่ส่วนลู่เข้าชนิดD(Approach Concrete Barrier TypeD)(Dwg.No.RS-503)
6.4(6.5)แผงกั้นคอนกรีต ที่ส่วนลู่เข้าชนิดE(Approach Concrete Barrier TypeE)(Dwg.No.RS-506)
6.5(1)แผ่นปูพื้นคอนกรีตขนาด 40x40x4 ซม. (ZConcrete Slab Block 40x40x4 cm.) (DWG.No.MD-501)
6.5(2)แผ่นปูพื้นคอนกรีต ซม. Concrete Paving Block (Concrete Paving Block)(DWG.No.MD-801)
6.6(1)งานปลูกหญ้าแบบเต็มผืน (Block Sodding)(DWG.No.SP-101)
6.6(2)งานปลูกหญ้าแบบเป็นแถบ (Strip Sodding)(DWG.No.SP-101)
6.7(1)งานดินคลุมผิว(Top Soil)
6.7(2)งานดินเหนียว(Clay)
6.8(1)ราวกันอันตราย W-Beam หนา x มม.(W-Beam Guardrail)(Thickness x mm.:Class " __ " , Type "__")
6.9(1.1)รั้วแบบที่ 1 (Fence Type I)(DWG.No.MD-701)
6.9(1.2)รั้วแบบที่ 2 (Fence Type II)(DWG.No.MD-701)
6.10(1)หลักนำทาง (Guide Post)(DWG.No.RS-401)
6.10(2)หลักกิโลเมตร (Kilometer Stone)(DWG.No.MD-402)
6.10(3)หลักเขตทาง (R.O.W. Monument)(DWG.No.MD-401)
6.11(1)แผ่นป้ายจราจร (Sign Plate)(DWG.No.RS-101)
6.11(2.1)เสาป้ายคอนกรีตขนาด 0.12x0.12ม.(R.C.Sign Post 0.12x0.12m.)(DWG.No.RS-101)
6.11(2.2)เสาป้ายคอนกรีตขนาด 0.15x0.15ม.(R.C.Sign Post 0.15x0.15m.)(DWG.No.RS-101)
6.11(2.3)เสาเหล็กเส้นผ่านศูนย์กลาง 90มม.(Steel Pipe Dia. 0.90m.)
6.11(3.1)แผ่นป้ายจราจรเหนือศีรษะติดตั้งบนโครงข้อหมุนเหล็กและเสาเหล็ก(Overhead Sign Boards, Mounting on Steel Truss and Steel Pole)(DWG.No. RS-106)
6.11(3.2)แผ่นป้ายจราจรเหนือศีรษะติดตั้งบนพื้นสะพาน(Overhead Sign Boards, Mounting at Bridge Deck)(DWG.No. RS-115)
6.11(4.1)เสาเหล็กสำหรับแผ่นป้ายจราจรชนิดแขวนสูงสำหรับแผ่นป้ายขนาด < 52,800 ตร.ซม.(Steel Pole for Overhanging Road Sign for Sign Plate < 52,800 Sq.cm.)(DWG.NO.RS-109)
6.11(4.2)เสาเหล็กสำหรับแผ่นป้ายจราจรชนิดแขวนสูงสำหรับแผ่นป้ายขนาด < 108,000 ตร.ซม.(Steel Pole for Overhanging Road Sign for Sign Plate < 108,000 Sq.cm.)(DWG.NO.RS-110,111)
6.11(4.3))เสาเหล็กสำหรับแผ่นป้ายจราจรชนิดแขวนสูงสำหรับแผ่นป้ายขนาด < 2X52,800 ตร.ซม.(Steel Pole for Overhanging Road Sign for Sign Plate < 2X52,800 Sq.cm.)(DWG.NO.RS-112,113)
6.11(5)โครงเหล็กสำหรับติดตั้งแผ่นป้ายเหนือศรีษะชนิดที่ 1 ความยาวช่วงพาด x ม.(Steel Frame for Mounting Overhead Sign Type I. Span x m.)(DWG.No.RS-107)
6.11(5.2)Galvanized Steel Post for Overhead Sign Type"I"(1lEG.) Max Height 8.00 m.
6.11(5.3)โครงข้อหมุนเหล็กสำหรับแผ่นป้ายเหนือศีรษะแบบที่ 1 (Steel Truss for Overhead Sign Type"I")
6.11(6)โครงเหล็กสำหรับติดตั้งแผ่นป้ายเหนือศีรษะชนิดที่ 2(Steel Frame for Mounting Overhead Sign Type II. Span x m.)(DWG.No.RS-108)
6.11(6.1)ฐานรากและเสาเหล็กสำหรับแผ่นป้ายเหนือศีรษะ(Foundation and Steel Post Overhead Sign (1 Leg)
6.11(6.2)Galvanized Steel Post for Overhead Sign Type"II" (1 Leg)
6.11(6.3)Steel Truss for Overhead Sign Type "II"
6.12(1)เสาไฟฟ้าแบบกิ่งเดียวและกิ่งคู่สูง 9.00,12.00ม.ชนิด High Pressure Sodium Lamps 250,400 Watts Cut-Off (9.00,12.00m. (Mounting Height) Tapered Steel Pole Single Bracket & Double Bracket with High Pressure Sodium Lamps 250,400 , Cut - Off)(DWG.No.MD-601)
6.12(2)เสากระโดงไฟ ชนิด High Pressure Sodium Lamps 400 Watts
6.12(3)งานกำหนดติดตั้งใหม่สำหรับเสาไฟฟ้าเดิม (Relocation of Existing Roadway Lightings)(DWG.No.MD-601)
6.12(3.1)แบบกิ่งเดี่ยว (Single Bracket) (9.00 m.,12.00m.)
6.13(1)ชุดสัญญาณไฟจราจร (Traffic Signals)
6.13(2)งานปรับปรุงระบบสัญญาณไฟจราจรเดิม (Improvement of Existing Traffic Signals)
6.14(1)ชุดสัญญาณไฟกระพริบ (Flashing Signal)
6.14(2)งานสัญญาณไฟกระพริบ (Improve Existing Flashing Signal)
6.14(3)ชุดสัญญาณไฟกระพริบ พลังงานแสงอาทิตย์ (Flashing Signal: Solar Cell)
6.15)งานตีเส้นจราจร (Marking)
6.15(1)Traffic Paint ชนิดที่ 2(Yellow & White)
6.15(2)Thermoplastic Paint ระดับ1(Yellow & White)
6.15(3)งานปุ่มสะท้อนแสง(Road Stud)
6.15(3.1)ชนิดทิศทางเดียว(UNI-Direction)
6.15(3.2)ชนิดสองทิศทาง(ฺBI-Direction)
6.15(4)งาน Chatter Bar(Chatter Bar)
6.15(4.1)ชนิดทิศทางเดียว(UNI-Direction)
6.15(4.2)ชนิดสองทิศทาง(ฺBI-Direction)
6.15(5)แถบยก(Raised Bar)
6.15(6)ทาสีขอบคันหิน(Curb Markings)
6.16)ราวไม้ถาวรกันรถบริเวณทางแยก(Permanent Timber Barricade)
6.17(1)ศาลาผู้โดยสารรถประจำทางชนิด A(Bus Stop Shelter Type "A")(DWG.No.MD-302)
6.17(2)ศาลาผู้โดยสารรถประจำทางชนิด B(Bus Stop Shelter Type "B")(DWG.No.MD-303)
6.17(3)ศาลาผู้โดยสารรถประจำทางชนิด C(Bus Stop Shelter Type "C")(DWG.No.MD-304)
6.17(4)ศาลาผู้โดยสารรถประจำทางชนิด D(Bus Stop Shelter Type "D")(DWG.No.MD-306)
6.17(5)ศาลาผู้โดยสารรถประจำทางชนิด E(Bus Stop Shelter Type "E")(DWG.No.MD-308,309)
6.17(6)ศาลาผู้โดยสารรถประจำทางชนิด F(Bus Stop Shelter Type "F")(DWG.No.MD-311)
6.17(7)กำหนดติดตั้งใหม่ศาลาผู้โดยสารรถประจำทาง ชนิด x ม.(Relocation of Existing Bus Stop Shelter Type " x ")
6.18)งานภูมิทัศน์(landscaping Work)
6.18(1)ต้นไม้สูง (Tree Planting)
6.18(2)ต้นไม้พุ่ม(Shrub Planting)
6.18(3)ต้นไม้คลุมดิน(Ground Cover Planting)
6.18(4)งานปลูกหญ้า(Grassing)
6.18(5)ดินถมสำหรับงานปรับภูมิทัศน์(Earth Fill Landscaping Work)
6.19)งานระบายน้ำบนสะพาน (Bridge Drainage)
7)งานจัดการเครื่องหมายจราจรระหว่างงานก่อสร้าง
7(1)ชุดทางเบี่ยงหรือสะพานเบี่ยง 1 ช่องจราจร (ชุดที่1)
7(2)ชุดทางเบี่ยงหรือสะพานเบี่ยง 2 ช่องจราจร (ชุดที่2)
7(3)ชุดงานก่อสร้างไหล่ทาง (ชุดที่3)
7(4)ชุดงานก่อสร้าง 1ช่องจราจร(ชุดที่4)
7(5)ชุดงานก่อสร้างทาง 1ช่อง จราจรบริเวณจุดตัดทางรถไฟ(ชุดที่5)
7(6)ชุดทางหลวง 4ช่องจราจรมีไหล่ทาง ปิดช่องจราจรฝั่งขวา(ชุดที่6)
7(7)ชุดทางหลวง 6 ช่องจราจรมีไหล่ทาง ปิดช่องจราจรกลาง(ชุดที่7)
7(8)ชุดทางหลวง 6 ช่องจราจรไม่มีไหล่ทาง(ชุดที่8)
7(9)ชุดทางหลวง 4ช่องจราจรมีเกาะกลาง ปิดการจราจรหนึ่งทิศทาง (ชุดที่9)
7(10)ชุดทางหลวง 4 ช่องจราจรไม่มีเกาะกลาง ปิดการจราจรหนึ่งทิศทาง (ชุดที่10)
ที่มา : หน้า 144 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
6.4(1)ขอบคันหินรางตื้น(Barrier Curb and Gutter)(DWG.No.RS-508)
Gutter หนา 0.25 เมตรและกว้าง 0.30 เมตร
6.4(2)ขอบคันหิน(Barrier Curb)(DWG.No.RS-508)
Barrier Curb สูง 0.45 เมตร
6.4(3)ขอบคันหินรางตื้นแบบรถปีนได้ (Mountable Curb and Gutter)(DWG.No.RS-508)
Gutter หนา 0.25 เมตร กว้าง 0.30 เมตร
6.4(4)ขอบคันหินแบบรถปีนได้(Mountable Curb)(DWG.No.RS-508)
Mountable Curb สูง 0.40เมตร
6.4(5.1)แผงกั้นคอนกรีตแบบที่ 1(Concrete Barrier Type I)(DWG.No.RS-501)
6.4(5.2)แผงกั้นคอนกรีตแบบที่ 1สำหรับงานดินตัดลึกและถมสูง(Concrete Barrier Type I for Deep Cut and High Fill)(DWG.No.RS-503)
6.4(5.3)แผงกั้นคอนกรีตแบบที่ 2(Concrete Barrier Type II)(DWG.No.RS-502)
6.4(5.1.1)แผงกั้นคอนกรีตแบบที่ 1(Pre-Cast Concrete Barrier Type I)(DWG.No.RS-504)
6.4(5.3.1)แผงกั้นคอนกรีตแบบที่ 2(Pre-Cast Concrete Barrier Type II)(DWG.No.RS-505)
6.4(5.4)แผงกั้นคอนกรีต ที่ส่วนลู่เข้าหาสะพาน(Concrete Barrier at Bridge Approach)(Dwg.No.RS-506)
6.4(6.1)แผงกั้นคอนกรีต ที่ส่วนลู่เข้าชนิดA(Approach Concrete Barrier Type A)(Dwg.No.RS-501)
6.4(6.2)แผงกั้นคอนกรีต ที่ส่วนลู่เข้าชนิดB(Approach Concrete Barrier Type B)(Dwg.No.RS-501)
6.4(6.3)แผงกั้นคอนกรีต ที่ส่วนลู่เข้าชนิดC(Approach Concrete Barrier Type C)(Dwg.No.RS-502)
6.4(6.4)แผงกั้นคอนกรีต ที่ส่วนลู่เข้าชนิดD(Approach Concrete Barrier TypeD)(Dwg.No.RS-503)
6.4(6.5)แผงกั้นคอนกรีต ที่ส่วนลู่เข้าชนิดE(Approach Concrete Barrier TypeE)(Dwg.No.RS-506)
6.5(1)แผ่นปูพื้นคอนกรีตขนาด 40x40x4 ซม. (ZConcrete Slab Block 40x40x4 cm.) (DWG.No.MD-501)
6.5(2)แผ่นปูพื้นคอนกรีต ซม. Concrete Paving Block (Concrete Paving Block)(DWG.No.MD-801)
6.6(1)งานปลูกหญ้าแบบเต็มผืน (Block Sodding)(DWG.No.SP-101)
6.6(2)งานปลูกหญ้าแบบเป็นแถบ (Strip Sodding)(DWG.No.SP-101)
6.7(1)งานดินคลุมผิว(Top Soil)
6.7(2)งานดินเหนียว(Clay)
6.8(1)ราวกันอันตราย W-Beam หนา x มม.(W-Beam Guardrail)(Thickness x mm.:Class " __ " , Type "__")
6.9(1.1)รั้วแบบที่ 1 (Fence Type I)(DWG.No.MD-701)
6.9(1.2)รั้วแบบที่ 2 (Fence Type II)(DWG.No.MD-701)
6.10(1)หลักนำทาง (Guide Post)(DWG.No.RS-401)
6.10(2)หลักกิโลเมตร (Kilometer Stone)(DWG.No.MD-402)
6.10(3)หลักเขตทาง (R.O.W. Monument)(DWG.No.MD-401)
6.11(1)แผ่นป้ายจราจร (Sign Plate)(DWG.No.RS-101)
6.11(2.1)เสาป้ายคอนกรีตขนาด 0.12x0.12ม.(R.C.Sign Post 0.12x0.12m.)(DWG.No.RS-101)
6.11(2.2)เสาป้ายคอนกรีตขนาด 0.15x0.15ม.(R.C.Sign Post 0.15x0.15m.)(DWG.No.RS-101)
6.11(2.3)เสาเหล็กเส้นผ่านศูนย์กลาง 90มม.(Steel Pipe Dia. 0.90m.)
6.11(3.1)แผ่นป้ายจราจรเหนือศีรษะติดตั้งบนโครงข้อหมุนเหล็กและเสาเหล็ก(Overhead Sign Boards, Mounting on Steel Truss and Steel Pole)(DWG.No. RS-106)
6.11(3.2)แผ่นป้ายจราจรเหนือศีรษะติดตั้งบนพื้นสะพาน(Overhead Sign Boards, Mounting at Bridge Deck)(DWG.No. RS-115)
6.11(4.1)เสาเหล็กสำหรับแผ่นป้ายจราจรชนิดแขวนสูงสำหรับแผ่นป้ายขนาด < 52,800 ตร.ซม.(Steel Pole for Overhanging Road Sign for Sign Plate < 52,800 Sq.cm.)(DWG.NO.RS-109)
6.11(4.2)เสาเหล็กสำหรับแผ่นป้ายจราจรชนิดแขวนสูงสำหรับแผ่นป้ายขนาด < 108,000 ตร.ซม.(Steel Pole for Overhanging Road Sign for Sign Plate < 108,000 Sq.cm.)(DWG.NO.RS-110,111)
6.11(4.3))เสาเหล็กสำหรับแผ่นป้ายจราจรชนิดแขวนสูงสำหรับแผ่นป้ายขนาด < 2X52,800 ตร.ซม.(Steel Pole for Overhanging Road Sign for Sign Plate < 2X52,800 Sq.cm.)(DWG.NO.RS-112,113)
6.11(5)โครงเหล็กสำหรับติดตั้งแผ่นป้ายเหนือศรีษะชนิดที่ 1 ความยาวช่วงพาด x ม.(Steel Frame for Mounting Overhead Sign Type I. Span x m.)(DWG.No.RS-107)
6.11(5.2)Galvanized Steel Post for Overhead Sign Type"I"(1lEG.) Max Height 8.00 m.
6.11(5.3)โครงข้อหมุนเหล็กสำหรับแผ่นป้ายเหนือศีรษะแบบที่ 1 (Steel Truss for Overhead Sign Type"I")
6.11(6)โครงเหล็กสำหรับติดตั้งแผ่นป้ายเหนือศีรษะชนิดที่ 2(Steel Frame for Mounting Overhead Sign Type II. Span x m.)(DWG.No.RS-108)
6.11(6.1)ฐานรากและเสาเหล็กสำหรับแผ่นป้ายเหนือศีรษะ(Foundation and Steel Post Overhead Sign (1 Leg)
6.11(6.2)Galvanized Steel Post for Overhead Sign Type"II" (1 Leg)
6.11(6.3)Steel Truss for Overhead Sign Type "II"
6.12(1)เสาไฟฟ้าแบบกิ่งเดียวและกิ่งคู่สูง 9.00,12.00ม.ชนิด High Pressure Sodium Lamps 250,400 Watts Cut-Off (9.00,12.00m. (Mounting Height) Tapered Steel Pole Single Bracket & Double Bracket with High Pressure Sodium Lamps 250,400 , Cut - Off)(DWG.No.MD-601)
6.12(2)เสากระโดงไฟ ชนิด High Pressure Sodium Lamps 400 Watts
6.12(3)งานกำหนดติดตั้งใหม่สำหรับเสาไฟฟ้าเดิม (Relocation of Existing Roadway Lightings)(DWG.No.MD-601)
6.12(3.1)แบบกิ่งเดี่ยว (Single Bracket) (9.00 m.,12.00m.)
6.13(1)ชุดสัญญาณไฟจราจร (Traffic Signals)
6.13(2)งานปรับปรุงระบบสัญญาณไฟจราจรเดิม (Improvement of Existing Traffic Signals)
6.14(1)ชุดสัญญาณไฟกระพริบ (Flashing Signal)
6.14(2)งานสัญญาณไฟกระพริบ (Improve Existing Flashing Signal)
6.14(3)ชุดสัญญาณไฟกระพริบ พลังงานแสงอาทิตย์ (Flashing Signal: Solar Cell)
6.15)งานตีเส้นจราจร (Marking)
6.15(1)Traffic Paint ชนิดที่ 2(Yellow & White)
6.15(2)Thermoplastic Paint ระดับ1(Yellow & White)
6.15(3)งานปุ่มสะท้อนแสง(Road Stud)
6.15(3.1)ชนิดทิศทางเดียว(UNI-Direction)
6.15(3.2)ชนิดสองทิศทาง(ฺBI-Direction)
6.15(4)งาน Chatter Bar(Chatter Bar)
6.15(4.1)ชนิดทิศทางเดียว(UNI-Direction)
6.15(4.2)ชนิดสองทิศทาง(ฺBI-Direction)
6.15(5)แถบยก(Raised Bar)
6.15(6)ทาสีขอบคันหิน(Curb Markings)
6.16)ราวไม้ถาวรกันรถบริเวณทางแยก(Permanent Timber Barricade)
6.17(1)ศาลาผู้โดยสารรถประจำทางชนิด A(Bus Stop Shelter Type "A")(DWG.No.MD-302)
6.17(2)ศาลาผู้โดยสารรถประจำทางชนิด B(Bus Stop Shelter Type "B")(DWG.No.MD-303)
6.17(3)ศาลาผู้โดยสารรถประจำทางชนิด C(Bus Stop Shelter Type "C")(DWG.No.MD-304)
6.17(4)ศาลาผู้โดยสารรถประจำทางชนิด D(Bus Stop Shelter Type "D")(DWG.No.MD-306)
6.17(5)ศาลาผู้โดยสารรถประจำทางชนิด E(Bus Stop Shelter Type "E")(DWG.No.MD-308,309)
6.17(6)ศาลาผู้โดยสารรถประจำทางชนิด F(Bus Stop Shelter Type "F")(DWG.No.MD-311)
6.17(7)กำหนดติดตั้งใหม่ศาลาผู้โดยสารรถประจำทาง ชนิด x ม.(Relocation of Existing Bus Stop Shelter Type " x ")
6.18)งานภูมิทัศน์(landscaping Work)
6.18(1)ต้นไม้สูง (Tree Planting)
6.18(2)ต้นไม้พุ่ม(Shrub Planting)
6.18(3)ต้นไม้คลุมดิน(Ground Cover Planting)
6.18(4)งานปลูกหญ้า(Grassing)
6.18(5)ดินถมสำหรับงานปรับภูมิทัศน์(Earth Fill Landscaping Work)
6.19)งานระบายน้ำบนสะพาน (Bridge Drainage)
7)งานจัดการเครื่องหมายจราจรระหว่างงานก่อสร้าง
7(1)ชุดทางเบี่ยงหรือสะพานเบี่ยง 1 ช่องจราจร (ชุดที่1)
7(2)ชุดทางเบี่ยงหรือสะพานเบี่ยง 2 ช่องจราจร (ชุดที่2)
7(3)ชุดงานก่อสร้างไหล่ทาง (ชุดที่3)
7(4)ชุดงานก่อสร้าง 1ช่องจราจร(ชุดที่4)
7(5)ชุดงานก่อสร้างทาง 1ช่อง จราจรบริเวณจุดตัดทางรถไฟ(ชุดที่5)
7(6)ชุดทางหลวง 4ช่องจราจรมีไหล่ทาง ปิดช่องจราจรฝั่งขวา(ชุดที่6)
7(7)ชุดทางหลวง 6 ช่องจราจรมีไหล่ทาง ปิดช่องจราจรกลาง(ชุดที่7)
7(8)ชุดทางหลวง 6 ช่องจราจรไม่มีไหล่ทาง(ชุดที่8)
7(9)ชุดทางหลวง 4ช่องจราจรมีเกาะกลาง ปิดการจราจรหนึ่งทิศทาง (ชุดที่9)
7(10)ชุดทางหลวง 4 ช่องจราจรไม่มีเกาะกลาง ปิดการจราจรหนึ่งทิศทาง (ชุดที่10)
ที่มา : หน้า 144 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
47 รายการหลักเกณฑ์การประเมินราคาต้นทุนต่อหน่วยงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม(2/3)
รายการหลักเกณฑ์การประเมินราคาต้นทุนต่อหน่วยงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม(2/3)
6.งานเบ็ดเตล็ด(Miscellaneous)
6.1)งานป้องกันเชิงลาด(Slope Protection)
6.1(1)งานคอนกรีตป้องกันเชิงลาดบริเวณคอสะพาน(Concrete Slope Protection)(DWG.No.SP-102)
6.1(2.1)งานซอตกรีตป้องกันเชิงท้ายลาดดินตัดและดินถม(Shotcrete Back Slope Protection)(DWG.No. SP-103)
6.1(2.2)งานซอตกรีตป้องกันเชิงข้างลาดดินตัดและดินถม(Shotcrete Side Slope Protection)(DWG.No. SP-103)
6.1(3)งาน Sacked Concrete ป้องกันเชิงลาด(Sacked Concrete Slope Protection)(DWG.No.SP-104)
6.1(4)งานหินทิ้งป้องกันลาดคันทาง(RIPRAP Slope Proctection)
6.1(4.1)แบบ Plain RIPRAP (Plain RIPRAP)(DWG.No.SP-105)
6.1(4.2))แบบ Mortar RIPRAP (Mortar RIPRAP)(DWG.No.SP-105)
6.1(5)งานป้องกันเชิงลาดโดยใช้แผ่นใยสังเคราะห์(Geotextile Slope Protection)
6.1(6)กล่องลวดตาข่ายบรรจุหินใหญ่ หนา x ซม.(Gabions x cm. Thick)(DWG.No.SP-106ถึงSP-108)
6.1(7)งานป้องกันเชิงลาดโดยใช้ RENO Mttress หนา x ซม.(RENO Mattress x cm. Thick)(DWG.No.SP-401)
6.1(8)งานป้องกันเชิงลาดโดยใช้ Concrete Square Grid(Concrete Square Frid Slope Protection)(DWG.No.SP-202)
6.1(9)งานป้องกันลาดดินตัดโดยใช้Concrete Grid Beam Back Slope(Concrete Grid Beam Back Slope Protection)(DWG.No.SP-301)
6.1(10)งานปลูกหญ้าใน Square Grid และ Grid Beam (Grassing in Square Grid and Grid Beam)(DWG.No.SP-202)
6.1(11)งานปลูกหญ้าแฝกบริเวณเชิงลาด (Vetiver Grassing for Slope Protection)(DWG.No.SP-204)
6.1(12)งานพ่นเมล็ดพืชบริเวณเชิงลาด (Hydroseeding for Slope Protection)(DWG.No.SP-205)
6.1(13)คันหินปั้นด้วยแอสฟัลต์คอนกรีตเพื่อป้องกันความเสียหายของคันทาง(Asphalt Curb for Embankment Protection)(DWG.No.SP-302)
6.1(14)รางเทระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กเพื่อป้องกันความเสียหายของคันทาง(R.C.Drain CHUTE FOR Embankment Protection)(DWG.No.DS-302)
6.1(15)งานคอนกรีตล้วนบริเวณปลายรางเทน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กเพื่อป้องกันความเสียหายของคันทาง(Plain Concrete at Toe of R.C. Chute for Embankment Protection)
6.1(16)งานโครงสร้างคอนกรีตจุดทางระบายน้ำออกสำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก(R.C. Drain Outlet for R.C. Pipe Culvert)(DWG.No.SP-202)
6.1(17)งานคอนกรีตล้วนที่จุดปลายเชิงลาดดินถมบริเวณจุดทางระบายน้ำออกคอนกรีตเสริมเหล็ก(Plan Concrete at Toe of R.C.Drain Outlet)(DWG.No.SP-202)
6.1(18)งานอ่างรับน้ำแบบ Mortar RIPRAP บริเวณจุดน้ำเข้าท่อ (Mortar RIPRAP Catch Basin at Inlet for R.C. Pipe Culvert)(DWG.No.SP-301)
6.2(1)ท่อพรุนเพื่อระบายน้ำพร้อมแผ่นใยสังเคราะห์(Perforated Pipe with Geotextile)(DWG.No.TS-501)
6.2(2)หินทิ้งพร้อมทรายหยาบ (Rock Fill with Coarse Sand)(DWG.No.TS-501)
6.3(1.1)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิดA สำหรับท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.60ม.พร้อมฝาบ่อพัก(R.C. Manhole Type "A" for R.C.P dia. 0.60m.)(DWG.No DS-407)
6.3(1.2.1)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(สำหรับรางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด A)(R.C. Manhole Type "B" (for R.C. Ditch Type"A"))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.10 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.00ม. Cross Drain dia.0.60 m. Outlet dia. 0.60m.
6.3(1.2.2)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(สำหรับรางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด A)(R.C. Manhole Type "B" (for R.C. Ditch Type"A"))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.30 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.25ม. Cross Drain dia. 0.80 m.
6.3(1.2.3)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(สำหรับรางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด A)(R.C. Manhole Type "B" (for R.C. Ditch Type"A"))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.55 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.50ม. Cross Drain dia. 1.00 m.
6.3(1.2.4)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(สำหรับรางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด A)(R.C. Manhole Type "B" (for R.C. Ditch Type"A"))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.80 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.75ม. Cross Drain dia. 1.20 m.
6.3(1.2.5)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(สำหรับรางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(R.C. Manhole Type "B" (for R.C. Ditch Type"B"))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.10 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.00ม. Cross Drain dia. 0.60 m.
6.3(1.2.6)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(สำหรับรางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(R.C. Manhole Type "B" (for R.C. Ditch Type"B"))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.30 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.25 ม. Cross Drain dia. 0.80 m.
6.3(1.2.7)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(สำหรับรางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(R.C. Manhole Type "B" (for R.C. Ditch Type"B"))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.55 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.50 ม. Cross Drain dia. 1.00 m.
6.3(1.2.8)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(สำหรับรางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(R.C. Manhole Type "B" (for R.C. Ditch Type"B"))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.80 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.75 ม. Cross Drain dia. 1.20 m.
6.3(1.3.1)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด C(สำหรับท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.00ม.(R.C. Manhole Type "C" (for R.C.P dia. 1.00m.))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.55 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.50 ม. ท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.00ม. เข้า-ออก 2 ทาง
Steel Grating 0.25 x 1.10 ม.
6.3(1.3.2)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด C(สำหรับท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.20ม.(R.C. Manhole Type "C" (for R.C.P dia. 1.20m.))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.80 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.75 ม. ท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.20ม. เข้า-ออก 2 ทาง
Steel Grating 0.25 x 1.10 ม.
6.3(1.4.1)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด D(สำหรับท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.60ม.(R.C. Manhole Type "D" (for R.C.P dia. 0.60m.))(DWG.No.DS-402)
ขนาด 1.10 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.00 ม.
Steel Grating 0.25 x 1.10 ม.
6.3(1.4.2)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด D(สำหรับท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.80ม.(R.C. Manhole Type "D" (for R.C.P dia. 0.80m.))(DWG.No.DS-402)
ขนาด 1.30 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.25 ม.
Steel Grating 0.25 x 1.10 ม.
6.3(1.4.3)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด D(สำหรับท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.00ม.(R.C. Manhole Type "D" (for R.C.P dia. 1.00m.))(DWG.No.DS-402)
ขนาด 1.55 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.50 ม.
Steel Grating 0.25 x 1.10 ม.
6.3(1.4.4)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด D(สำหรับท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.20ม.(R.C. Manhole Type "D" (for R.C.P dia. 1.20m.))(DWG.No.DS-402)
ขนาด 1.80 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.75 ม.
Steel Grating 0.25 x 1.10 ม.
6.3(1.5)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด E(สำหรับR.C. Manhole Type "E" for Box Culvert Open Type)(DWG.No.DS-501)
ขนาด 1.90 x 1.20 ม. สูงเฉลี่ย 2.50 ม.ท่อสี่เหลี่ยม ขนาด 1.2 x1.2ม.
Steel Grating 0.25 x 1.10 ม.
6.3(1.6)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด F(สำหรับR.C. Manhole Type "F" for Box Culvert Close Type)(DWG.No.DS-502)
ขนาด 1.90 x 1.20 ม. สูงเฉลี่ย 2.50 ม.ท่อสี่เหลี่ยม ขนาด 1.2 x1.2ม.
Steel Grating 0.25 x 1.10 ม.
6.3(1.7)งานปรับปรุงบ่อพักเดิมพร้อมฝาบ่อพัก(Modification of Existing Manhole)ขนาด ก x ข ม. ต่อความสูงเฉลี่ย ค ม.
Steel Grating 0.25 x 1.10 ม.
6.3(2)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กพร้อมฝาครอบคอนกรีตเสริมเหล็ก (Inlet Catch Basin with R.C.Cover)(DWG.No. DS-403)
6.3(3.1)บ่อพักรับน้ำบริเวณเกาะกลางแบบที่ 1(Median Drop Inlet Type I)(DWG.No.DS-404)
6.3(3.1.1)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.40ม. (for R.C.P. dia.0.40m.)
6.3(3.1.2)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.60ม.(for R.C.P. dia.0.60 m.)
6.3(3.1.3)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.80ม.(for R.C.P. dia.0.80 m.)
6.3(3.1.4)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.00ม.(for R.C.P. dia.1.00 m.)
6.3(3.1.5)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.20ม.(for R.C.P. dia.1.20 m.)
6.3(3.2)บ่อพักรับน้ำบริเวณเกาะกลางแบบที่2 (Median Drop Inlet Type II)(DWG.No.DS-405)
6.3(3.2.1)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.40ม. (for R.C.P. dia.0.40m.)
6.3(3.2.2)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.60ม.(for R.C.P. dia.0.60 m.)
6.3(3.2.3)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.80ม.(for R.C.P. dia.0.80 m.)
6.3(3.2.4)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.00ม.(for R.C.P. dia.1.00 m.)
6.3(3.2.5)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.20ม.(for R.C.P. dia.1.20 m.)
6.3(4)ท่อรับน้ำคอนกรีตเสริมทรงเหลี่ยมจากขอบคันหิน (R.C. Rectangular Pipe from Culvert)(DWG.No.DS-401,402)
6.3(5.1)Plain Concrete Headwall (S=2:1)(DWG.No.DS-103)
6.3(5.2)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก(Reinforced Concrete Headwall)(S=2:1)(DWG.No.DS-103)
6.3(6.1)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 1-dia. 0.60ม.(Concrete Headwall for R.C.P 1-dia. 0.60m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-104)
6.3(6.2)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 2-dia. 0.60ม.(Concrete Headwall for R.C.P 2-dia. 0.60m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-105)
6.3(6.3)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 3-dia. 0.60ม.(Concrete Headwall for R.C.P 3-dia. 0.60m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-105)
6.3(6.4)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 1-dia. 0.80ม.(Concrete Headwall for R.C.P 1-dia. 0.80m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-104)
6.3(6.5)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 2-dia. 0.80ม.(Concrete Headwall for R.C.P 2-dia. 0.80m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-105)
6.3(6.6)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 3-dia. 0.80ม.(Concrete Headwall for R.C.P 3-dia. 0.80m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-105)
6.3(6.7)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 1-dia. 1.00ม.(Concrete Headwall for R.C.P 1-dia. 1.00m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-104)
6.3(6.8)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 2-dia. 1.00ม.(Concrete Headwall for R.C.P 2-dia. 1.00m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-105)
6.3(6.9)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 3-dia. 1.00ม.(Concrete Headwall for R.C.P 3-dia. 1.00m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-105)
6.3(6.10)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 1-dia. 1.20ม.(Concrete Headwall for R.C.P 1-dia. 1.20m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-104)
6.3(6.11)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 2-dia. 1.20ม.(Concrete Headwall for R.C.P 2-dia. 1.20m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-105)
6.3(6.12)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 3-dia. 1.20ม.(Concrete Headwall for R.C.P 3-dia. 1.20m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-105)
6.3(7)รางรับน้ำคอนกรีตบนชานทางลาดดินตัด(Concrete Interceptor on Cut Berm) (DWG.No.TS-501)
6.3(8.1)รางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กแบบ A(R.C. Ditch Type A)(DWG.No.DS-406)
6.3(8.2)รางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กแบบ B(R.C. Ditch Type B)(DWG.No.DS-406)
6.3(9)รางตื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก (R.C. Gutter)(DWG.No.DS-407)
6.3(10)บ่อพักรับน้ำสำหรับการระบายน้ำบนสะพาน (Drop Inlet for Bridge Drainage)(DWG.No.DS-503)
6.3(11)รางระบายน้ำรูปตัวยูคอนกรีตเสริมเหล็กสำหรับการระบายน้ำบนสะพาน(R.C. U Ditch for Bridge Drainage)(DWG.No.DS-503)
6.3(12.1)รางระบายน้ำด้านข้างแบบ 1 (Side Ditch Lining Type I)(DWG.No.DS-201)
6.3(12.2)รางระบายน้ำด้านข้างแบบ 1(Side Ditch Lining TypeII)(dwg.No.DS-201)
6.3(12.3)รางระบายน้ำด้านข้างแบบ 1(Side Ditch Lining TypeIII)(dwg.No.DS-201)
6.3(13.1)รางระบายน้ำคอนกรีตด้านข้างภูเขาแบบA (Concrete Ditch at Hillside Type A) (dwg.No.DS-202)
6.3(13.2)รางระบายน้ำคอนกรีตด้านข้างภูเขาแบบB (Concrete Ditch at Hillside Type B) (dwg.No.DS-202)
6.3(14.1)กำแพงกันดินแบบที่ 1(ผนังก่ออิฐฉาบปูน)(Retaining Wall Type I,Masonry Brick)(H < 0.60m.)(DWG.No.RS-701)
6.3(14.2)กำแพงกันดินแบบที่ 2(H = 0.61 - 1.40ม.)(Retaining Wall Type II)(H = 0.61-1.40m.)(DWG.No.RS-701)
6.3(14.3)กำแพงกันดินแบบที่ 3(H = 1.41 - 2.70ม.)(Retaining Wall Type III)(H = 1.41-2.70m.)(DWG.No.RS-701)
6.3(14.4.1)กำแพงกันดินแบบที่ 2(H <= 1.00 )(Retaining Wall Type II)(H <= 1.00m.)(DWG.No.RS-702)
6.3(14.4.2)กำแพงกันดินแบบที่ 2(H = 1.01 - 2.00ม.)(Retaining Wall Type II)(H = 1.01-2.00m.)(DWG.No.RS-702)
6.3(14.4.3)กำแพงกันดินแบบที่ 2(H <= 2.01 - 3.00ม.)(Retaining Wall Type II)(H <= 2.01-3.00m.)(DWG.No.RS-702)
ที่มา : หน้า 94 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
6.งานเบ็ดเตล็ด(Miscellaneous)
6.1)งานป้องกันเชิงลาด(Slope Protection)
6.1(1)งานคอนกรีตป้องกันเชิงลาดบริเวณคอสะพาน(Concrete Slope Protection)(DWG.No.SP-102)
6.1(2.1)งานซอตกรีตป้องกันเชิงท้ายลาดดินตัดและดินถม(Shotcrete Back Slope Protection)(DWG.No. SP-103)
6.1(2.2)งานซอตกรีตป้องกันเชิงข้างลาดดินตัดและดินถม(Shotcrete Side Slope Protection)(DWG.No. SP-103)
6.1(3)งาน Sacked Concrete ป้องกันเชิงลาด(Sacked Concrete Slope Protection)(DWG.No.SP-104)
6.1(4)งานหินทิ้งป้องกันลาดคันทาง(RIPRAP Slope Proctection)
6.1(4.1)แบบ Plain RIPRAP (Plain RIPRAP)(DWG.No.SP-105)
6.1(4.2))แบบ Mortar RIPRAP (Mortar RIPRAP)(DWG.No.SP-105)
6.1(5)งานป้องกันเชิงลาดโดยใช้แผ่นใยสังเคราะห์(Geotextile Slope Protection)
6.1(6)กล่องลวดตาข่ายบรรจุหินใหญ่ หนา x ซม.(Gabions x cm. Thick)(DWG.No.SP-106ถึงSP-108)
6.1(7)งานป้องกันเชิงลาดโดยใช้ RENO Mttress หนา x ซม.(RENO Mattress x cm. Thick)(DWG.No.SP-401)
6.1(8)งานป้องกันเชิงลาดโดยใช้ Concrete Square Grid(Concrete Square Frid Slope Protection)(DWG.No.SP-202)
6.1(9)งานป้องกันลาดดินตัดโดยใช้Concrete Grid Beam Back Slope(Concrete Grid Beam Back Slope Protection)(DWG.No.SP-301)
6.1(10)งานปลูกหญ้าใน Square Grid และ Grid Beam (Grassing in Square Grid and Grid Beam)(DWG.No.SP-202)
6.1(11)งานปลูกหญ้าแฝกบริเวณเชิงลาด (Vetiver Grassing for Slope Protection)(DWG.No.SP-204)
6.1(12)งานพ่นเมล็ดพืชบริเวณเชิงลาด (Hydroseeding for Slope Protection)(DWG.No.SP-205)
6.1(13)คันหินปั้นด้วยแอสฟัลต์คอนกรีตเพื่อป้องกันความเสียหายของคันทาง(Asphalt Curb for Embankment Protection)(DWG.No.SP-302)
6.1(14)รางเทระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กเพื่อป้องกันความเสียหายของคันทาง(R.C.Drain CHUTE FOR Embankment Protection)(DWG.No.DS-302)
6.1(15)งานคอนกรีตล้วนบริเวณปลายรางเทน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กเพื่อป้องกันความเสียหายของคันทาง(Plain Concrete at Toe of R.C. Chute for Embankment Protection)
6.1(16)งานโครงสร้างคอนกรีตจุดทางระบายน้ำออกสำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก(R.C. Drain Outlet for R.C. Pipe Culvert)(DWG.No.SP-202)
6.1(17)งานคอนกรีตล้วนที่จุดปลายเชิงลาดดินถมบริเวณจุดทางระบายน้ำออกคอนกรีตเสริมเหล็ก(Plan Concrete at Toe of R.C.Drain Outlet)(DWG.No.SP-202)
6.1(18)งานอ่างรับน้ำแบบ Mortar RIPRAP บริเวณจุดน้ำเข้าท่อ (Mortar RIPRAP Catch Basin at Inlet for R.C. Pipe Culvert)(DWG.No.SP-301)
6.2(1)ท่อพรุนเพื่อระบายน้ำพร้อมแผ่นใยสังเคราะห์(Perforated Pipe with Geotextile)(DWG.No.TS-501)
6.2(2)หินทิ้งพร้อมทรายหยาบ (Rock Fill with Coarse Sand)(DWG.No.TS-501)
6.3(1.1)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิดA สำหรับท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.60ม.พร้อมฝาบ่อพัก(R.C. Manhole Type "A" for R.C.P dia. 0.60m.)(DWG.No DS-407)
6.3(1.2.1)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(สำหรับรางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด A)(R.C. Manhole Type "B" (for R.C. Ditch Type"A"))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.10 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.00ม. Cross Drain dia.0.60 m. Outlet dia. 0.60m.
6.3(1.2.2)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(สำหรับรางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด A)(R.C. Manhole Type "B" (for R.C. Ditch Type"A"))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.30 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.25ม. Cross Drain dia. 0.80 m.
6.3(1.2.3)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(สำหรับรางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด A)(R.C. Manhole Type "B" (for R.C. Ditch Type"A"))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.55 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.50ม. Cross Drain dia. 1.00 m.
6.3(1.2.4)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(สำหรับรางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด A)(R.C. Manhole Type "B" (for R.C. Ditch Type"A"))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.80 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.75ม. Cross Drain dia. 1.20 m.
6.3(1.2.5)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(สำหรับรางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(R.C. Manhole Type "B" (for R.C. Ditch Type"B"))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.10 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.00ม. Cross Drain dia. 0.60 m.
6.3(1.2.6)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(สำหรับรางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(R.C. Manhole Type "B" (for R.C. Ditch Type"B"))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.30 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.25 ม. Cross Drain dia. 0.80 m.
6.3(1.2.7)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(สำหรับรางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(R.C. Manhole Type "B" (for R.C. Ditch Type"B"))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.55 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.50 ม. Cross Drain dia. 1.00 m.
6.3(1.2.8)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(สำหรับรางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด B(R.C. Manhole Type "B" (for R.C. Ditch Type"B"))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.80 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.75 ม. Cross Drain dia. 1.20 m.
6.3(1.3.1)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด C(สำหรับท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.00ม.(R.C. Manhole Type "C" (for R.C.P dia. 1.00m.))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.55 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.50 ม. ท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.00ม. เข้า-ออก 2 ทาง
Steel Grating 0.25 x 1.10 ม.
6.3(1.3.2)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด C(สำหรับท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.20ม.(R.C. Manhole Type "C" (for R.C.P dia. 1.20m.))(DWG.No.DS-401)
ขนาด 1.80 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.75 ม. ท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.20ม. เข้า-ออก 2 ทาง
Steel Grating 0.25 x 1.10 ม.
6.3(1.4.1)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด D(สำหรับท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.60ม.(R.C. Manhole Type "D" (for R.C.P dia. 0.60m.))(DWG.No.DS-402)
ขนาด 1.10 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.00 ม.
Steel Grating 0.25 x 1.10 ม.
6.3(1.4.2)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด D(สำหรับท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.80ม.(R.C. Manhole Type "D" (for R.C.P dia. 0.80m.))(DWG.No.DS-402)
ขนาด 1.30 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.25 ม.
Steel Grating 0.25 x 1.10 ม.
6.3(1.4.3)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด D(สำหรับท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.00ม.(R.C. Manhole Type "D" (for R.C.P dia. 1.00m.))(DWG.No.DS-402)
ขนาด 1.55 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.50 ม.
Steel Grating 0.25 x 1.10 ม.
6.3(1.4.4)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด D(สำหรับท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.20ม.(R.C. Manhole Type "D" (for R.C.P dia. 1.20m.))(DWG.No.DS-402)
ขนาด 1.80 x 1.30 ม. สูงเฉลี่ย 2.75 ม.
Steel Grating 0.25 x 1.10 ม.
6.3(1.5)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด E(สำหรับR.C. Manhole Type "E" for Box Culvert Open Type)(DWG.No.DS-501)
ขนาด 1.90 x 1.20 ม. สูงเฉลี่ย 2.50 ม.ท่อสี่เหลี่ยม ขนาด 1.2 x1.2ม.
Steel Grating 0.25 x 1.10 ม.
6.3(1.6)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด F(สำหรับR.C. Manhole Type "F" for Box Culvert Close Type)(DWG.No.DS-502)
ขนาด 1.90 x 1.20 ม. สูงเฉลี่ย 2.50 ม.ท่อสี่เหลี่ยม ขนาด 1.2 x1.2ม.
Steel Grating 0.25 x 1.10 ม.
6.3(1.7)งานปรับปรุงบ่อพักเดิมพร้อมฝาบ่อพัก(Modification of Existing Manhole)ขนาด ก x ข ม. ต่อความสูงเฉลี่ย ค ม.
Steel Grating 0.25 x 1.10 ม.
6.3(2)อ่างรับน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กพร้อมฝาครอบคอนกรีตเสริมเหล็ก (Inlet Catch Basin with R.C.Cover)(DWG.No. DS-403)
6.3(3.1)บ่อพักรับน้ำบริเวณเกาะกลางแบบที่ 1(Median Drop Inlet Type I)(DWG.No.DS-404)
6.3(3.1.1)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.40ม. (for R.C.P. dia.0.40m.)
6.3(3.1.2)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.60ม.(for R.C.P. dia.0.60 m.)
6.3(3.1.3)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.80ม.(for R.C.P. dia.0.80 m.)
6.3(3.1.4)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.00ม.(for R.C.P. dia.1.00 m.)
6.3(3.1.5)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.20ม.(for R.C.P. dia.1.20 m.)
6.3(3.2)บ่อพักรับน้ำบริเวณเกาะกลางแบบที่2 (Median Drop Inlet Type II)(DWG.No.DS-405)
6.3(3.2.1)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.40ม. (for R.C.P. dia.0.40m.)
6.3(3.2.2)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.60ม.(for R.C.P. dia.0.60 m.)
6.3(3.2.3)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.80ม.(for R.C.P. dia.0.80 m.)
6.3(3.2.4)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.00ม.(for R.C.P. dia.1.00 m.)
6.3(3.2.5)สำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.20ม.(for R.C.P. dia.1.20 m.)
6.3(4)ท่อรับน้ำคอนกรีตเสริมทรงเหลี่ยมจากขอบคันหิน (R.C. Rectangular Pipe from Culvert)(DWG.No.DS-401,402)
6.3(5.1)Plain Concrete Headwall (S=2:1)(DWG.No.DS-103)
6.3(5.2)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก(Reinforced Concrete Headwall)(S=2:1)(DWG.No.DS-103)
6.3(6.1)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 1-dia. 0.60ม.(Concrete Headwall for R.C.P 1-dia. 0.60m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-104)
6.3(6.2)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 2-dia. 0.60ม.(Concrete Headwall for R.C.P 2-dia. 0.60m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-105)
6.3(6.3)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 3-dia. 0.60ม.(Concrete Headwall for R.C.P 3-dia. 0.60m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-105)
6.3(6.4)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 1-dia. 0.80ม.(Concrete Headwall for R.C.P 1-dia. 0.80m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-104)
6.3(6.5)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 2-dia. 0.80ม.(Concrete Headwall for R.C.P 2-dia. 0.80m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-105)
6.3(6.6)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 3-dia. 0.80ม.(Concrete Headwall for R.C.P 3-dia. 0.80m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-105)
6.3(6.7)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 1-dia. 1.00ม.(Concrete Headwall for R.C.P 1-dia. 1.00m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-104)
6.3(6.8)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 2-dia. 1.00ม.(Concrete Headwall for R.C.P 2-dia. 1.00m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-105)
6.3(6.9)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 3-dia. 1.00ม.(Concrete Headwall for R.C.P 3-dia. 1.00m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-105)
6.3(6.10)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 1-dia. 1.20ม.(Concrete Headwall for R.C.P 1-dia. 1.20m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-104)
6.3(6.11)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 2-dia. 1.20ม.(Concrete Headwall for R.C.P 2-dia. 1.20m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-105)
6.3(6.12)กำแพงปากท่อสำหรับท่อกลมคอนกรีต 3-dia. 1.20ม.(Concrete Headwall for R.C.P 3-dia. 1.20m.)(1-HDWL)S = 2:1 (DWG.No.DS-105)
6.3(7)รางรับน้ำคอนกรีตบนชานทางลาดดินตัด(Concrete Interceptor on Cut Berm) (DWG.No.TS-501)
6.3(8.1)รางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กแบบ A(R.C. Ditch Type A)(DWG.No.DS-406)
6.3(8.2)รางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กแบบ B(R.C. Ditch Type B)(DWG.No.DS-406)
6.3(9)รางตื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก (R.C. Gutter)(DWG.No.DS-407)
6.3(10)บ่อพักรับน้ำสำหรับการระบายน้ำบนสะพาน (Drop Inlet for Bridge Drainage)(DWG.No.DS-503)
6.3(11)รางระบายน้ำรูปตัวยูคอนกรีตเสริมเหล็กสำหรับการระบายน้ำบนสะพาน(R.C. U Ditch for Bridge Drainage)(DWG.No.DS-503)
6.3(12.1)รางระบายน้ำด้านข้างแบบ 1 (Side Ditch Lining Type I)(DWG.No.DS-201)
6.3(12.2)รางระบายน้ำด้านข้างแบบ 1(Side Ditch Lining TypeII)(dwg.No.DS-201)
6.3(12.3)รางระบายน้ำด้านข้างแบบ 1(Side Ditch Lining TypeIII)(dwg.No.DS-201)
6.3(13.1)รางระบายน้ำคอนกรีตด้านข้างภูเขาแบบA (Concrete Ditch at Hillside Type A) (dwg.No.DS-202)
6.3(13.2)รางระบายน้ำคอนกรีตด้านข้างภูเขาแบบB (Concrete Ditch at Hillside Type B) (dwg.No.DS-202)
6.3(14.1)กำแพงกันดินแบบที่ 1(ผนังก่ออิฐฉาบปูน)(Retaining Wall Type I,Masonry Brick)(H < 0.60m.)(DWG.No.RS-701)
6.3(14.2)กำแพงกันดินแบบที่ 2(H = 0.61 - 1.40ม.)(Retaining Wall Type II)(H = 0.61-1.40m.)(DWG.No.RS-701)
6.3(14.3)กำแพงกันดินแบบที่ 3(H = 1.41 - 2.70ม.)(Retaining Wall Type III)(H = 1.41-2.70m.)(DWG.No.RS-701)
6.3(14.4.1)กำแพงกันดินแบบที่ 2(H <= 1.00 )(Retaining Wall Type II)(H <= 1.00m.)(DWG.No.RS-702)
6.3(14.4.2)กำแพงกันดินแบบที่ 2(H = 1.01 - 2.00ม.)(Retaining Wall Type II)(H = 1.01-2.00m.)(DWG.No.RS-702)
6.3(14.4.3)กำแพงกันดินแบบที่ 2(H <= 2.01 - 3.00ม.)(Retaining Wall Type II)(H <= 2.01-3.00m.)(DWG.No.RS-702)
ที่มา : หน้า 94 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
46 รายการหลักเกณฑ์การประเมินราคาต้นทุนต่อหน่วยงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม (1/3)
รายการหลักเกณฑ์การประเมินราคาต้นทุนต่อหน่วยงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม(1/3)
1.1)งานรื้อผิวลาดยางเดิม(Removal of Existing Asphlat Concrete Surface)
1.2)งานรื้อผิวคอนกรีตเดิม (Removal of Existing Concrete Pavement)
1.3)งานรื้อสะพานคอนกรีตเดิม(Removal of Existing Concrete Bridge)
1.4)งานรื้อท่อเหลี่ยมเดิม(Removal of Exisitng Box Culverts)
1.5)งานรื้อท่อกลมเดิม(Removal of Exisitng Pipe Culverts)
1.6)งานรื้อสะพานไม้เดิม(Removal of Exisitng Timber Bridge)
2.1)งานถางป่าและขุดตอ(Clearing and Grubbing)
2.2(1)งานตัดดิน(Earth Excavation)
2.2(2)งานตัดดินผุ(Soft Rock Excavation)
2.2(3)งานตัดหินแข็ง(Hard Rock Excavation)
2.2(4)งานขุดวัสดุไม่เหมาะสม(Unsuitable Material Excavation)
2.2(5)งานขุดบริเวณดินอ่อน (เฉพาะงานขุด)(Soft Material Excavation Only)
2.3(1)งานดินถมคันทาง (Earth Embankment)
2.3(2)งานทรายถมคันทาง(Sand Embankment)
2.3(4)งานดินถมบริเวณเกาะกลาง(Earth Fill in Median and Island)
2.3(5)งานดินถมบริเวณทางเท้า (Earth Fill Under Sidewalk)
2.3(6)งานวัสดุถมเพื่อการระบายน้ำบริเวณคอสะพาน(Porous Backfill)
2.4(1)งานวัสดุคัดเลือก ข.(Slelected Material B)
2.4(2)งานวัสดุคัดเลือก ก.(Selected Material A)
3.1(1)งานรองพื้นทางวัสดุมวลรวม (Soil Aggreagate Subbase)
3.1(2)งานรองพื้นทางวัสดุมวลรวม (กรณีมีการผสมกับวัสดุอื่น)(Soil Aggreagete Subbase)
3.1(3)งานรองพื้นทางดินซีเมนต์(Soil Cement Subbase)
3.2(1)งานพื้นทางหินคลุก(Crushed Rock Soil Aggreagate Type Base)
3.2(2)งานพื้นทางกรวดโม่(Crushed Gravel Soil Aggreagate Type Base)
3.2(3)งานพื้นทางหินคลุกผสมซีเมนต์(Cement Modified Crushed Rock Base)
3.2(4)งานพื้นทางดินซีเมนต์(Soil Cement Base)
3.2(5)งานปรับปรุงชั้นทางเดิมในที่ ขุดลึกเฉลี่ย x ม.(Pavement In-Place Racycling)
3.3(1)งานไหล่ทางวัสดุมวลรวม(Soil Aggregate Shoulder)
3.3(1)งานไหล่ทางวัสดุมวลรวม(กรณีมีการผสมกับวัสดุอื่น)(Soil Aggreagate Shoulder)
3.4(1)งานทรายรองใต้ผิวทางคอนกรีต(Sand Cushion Under Concretre Pavement)
3.4(2)งานหินคลุกรองใต้ผิวทางคอนกรีต(Crushed Rock Soil Aggregate Under Concrete Pavement)
3.5)งานรื้อชั้นทางเดิมและก่อสร้างใหม่ หนา x ซม.(Scarification and Reconstruction of Existing Base X cm. Thick)
3.6)งานผิวทางชั่วคราววัสดุมวลรวม(Soil Aggregate Temporary Surface)
4.1(1)งานลาดแอสฟัลต์ไพรท์โค้ต(Prime Coat)
4.1(2)งานลาดแอสฟัลต์แทคโค้ต(Tack Coat)
4.2(1)ผิวทางแบบเซอร์เฟสทรีตเม้นท์ชั้นเดียว(Single Surface Treatment)
4.2(2)ผิวทางแบบเซอร์เฟสทรีตเม้นท์สองชั้น(Double Surface Treatment)
4.4(1)งานปรับระดับด้วยแอสฟัลต์คอรกรีตหนา x ซม.(Asphalt Concrete Leveling Course)
4.4(3)งานชั้นรองผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีตหนา x ซม. (Asphalt Concrete Binder Course X cm. Thick)
4.4(4)งานชั้นผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีตหนา x ซม. (Asphalt Concrete Wearing Course X cm. Thick)
4.4(5)งานผิวไหล่ทางแอสฟัลต์คอนกรีต(Asphalt Concrete Shoulder)
4.4(6)งานโมดิไฟด์แอสฟัลต์คอนกรีต(Modified Asphalt Concrete x cm. Thick)
4.5)งานขอบผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีต(Asphalt Concrete Surface Edge x m. Width)
4.9(1)ผิวทางปอร์ตแลนด์ซีเมนต์หนา x ซม.(Portland Cement Concrete Pavement X cm. Thick)
4.9(2)รอยต่อเผื่อขยายตามขวาง(Expansion Joint)
4.9(3)รอยต่อเผื่อหดตามขวาง(Contraction Joint)
4.9(4)รอยต่อตามยาว(Longitudinal Joint)
4.9(5)รอยต่อถนนคอนกรีตกับรางพื้น(Dummy Joint)
4.9(6)รอยต่อตามถนนคอนกรีตกับลาดยาง(Edge Joint)
5.1(1)สะพานคอนกรีตสร้างใหม่ (New Conrete Bridge)
5.1(4)งานพื้นคอนกรีตปรับระดับช่วงเข้าสู่สะพาน(Bridge Approach Slab)
5.1(5)แบริ่งยูนิต(Bearing Unit)
5.1(6)งานอะบัดเมนท์ โพรเทคเตอร์ (Abutment Protector)
5.1(7)สะพานลอยคนเดินข้าม(Pedestrain Bridges)
5.2(1)งานท่อเหลี่ยมคอนกรีตเสริมเหล็กก่อสร้างใหม่(New R.C. Box Culverts)
5.3)งานท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก(R.C. Pipe Culverts) ขนาด x ม.
ที่มา : หน้า 65 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
1.1)งานรื้อผิวลาดยางเดิม(Removal of Existing Asphlat Concrete Surface)
1.2)งานรื้อผิวคอนกรีตเดิม (Removal of Existing Concrete Pavement)
1.3)งานรื้อสะพานคอนกรีตเดิม(Removal of Existing Concrete Bridge)
1.4)งานรื้อท่อเหลี่ยมเดิม(Removal of Exisitng Box Culverts)
1.5)งานรื้อท่อกลมเดิม(Removal of Exisitng Pipe Culverts)
1.6)งานรื้อสะพานไม้เดิม(Removal of Exisitng Timber Bridge)
2.1)งานถางป่าและขุดตอ(Clearing and Grubbing)
2.2(1)งานตัดดิน(Earth Excavation)
2.2(2)งานตัดดินผุ(Soft Rock Excavation)
2.2(3)งานตัดหินแข็ง(Hard Rock Excavation)
2.2(4)งานขุดวัสดุไม่เหมาะสม(Unsuitable Material Excavation)
2.2(5)งานขุดบริเวณดินอ่อน (เฉพาะงานขุด)(Soft Material Excavation Only)
2.3(1)งานดินถมคันทาง (Earth Embankment)
2.3(2)งานทรายถมคันทาง(Sand Embankment)
2.3(4)งานดินถมบริเวณเกาะกลาง(Earth Fill in Median and Island)
2.3(5)งานดินถมบริเวณทางเท้า (Earth Fill Under Sidewalk)
2.3(6)งานวัสดุถมเพื่อการระบายน้ำบริเวณคอสะพาน(Porous Backfill)
2.4(1)งานวัสดุคัดเลือก ข.(Slelected Material B)
2.4(2)งานวัสดุคัดเลือก ก.(Selected Material A)
3.1(1)งานรองพื้นทางวัสดุมวลรวม (Soil Aggreagate Subbase)
3.1(2)งานรองพื้นทางวัสดุมวลรวม (กรณีมีการผสมกับวัสดุอื่น)(Soil Aggreagete Subbase)
3.1(3)งานรองพื้นทางดินซีเมนต์(Soil Cement Subbase)
3.2(1)งานพื้นทางหินคลุก(Crushed Rock Soil Aggreagate Type Base)
3.2(2)งานพื้นทางกรวดโม่(Crushed Gravel Soil Aggreagate Type Base)
3.2(3)งานพื้นทางหินคลุกผสมซีเมนต์(Cement Modified Crushed Rock Base)
3.2(4)งานพื้นทางดินซีเมนต์(Soil Cement Base)
3.2(5)งานปรับปรุงชั้นทางเดิมในที่ ขุดลึกเฉลี่ย x ม.(Pavement In-Place Racycling)
3.3(1)งานไหล่ทางวัสดุมวลรวม(Soil Aggregate Shoulder)
3.3(1)งานไหล่ทางวัสดุมวลรวม(กรณีมีการผสมกับวัสดุอื่น)(Soil Aggreagate Shoulder)
3.4(1)งานทรายรองใต้ผิวทางคอนกรีต(Sand Cushion Under Concretre Pavement)
3.4(2)งานหินคลุกรองใต้ผิวทางคอนกรีต(Crushed Rock Soil Aggregate Under Concrete Pavement)
3.5)งานรื้อชั้นทางเดิมและก่อสร้างใหม่ หนา x ซม.(Scarification and Reconstruction of Existing Base X cm. Thick)
3.6)งานผิวทางชั่วคราววัสดุมวลรวม(Soil Aggregate Temporary Surface)
4.1(1)งานลาดแอสฟัลต์ไพรท์โค้ต(Prime Coat)
4.1(2)งานลาดแอสฟัลต์แทคโค้ต(Tack Coat)
4.2(1)ผิวทางแบบเซอร์เฟสทรีตเม้นท์ชั้นเดียว(Single Surface Treatment)
4.2(2)ผิวทางแบบเซอร์เฟสทรีตเม้นท์สองชั้น(Double Surface Treatment)
4.4(1)งานปรับระดับด้วยแอสฟัลต์คอรกรีตหนา x ซม.(Asphalt Concrete Leveling Course)
4.4(3)งานชั้นรองผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีตหนา x ซม. (Asphalt Concrete Binder Course X cm. Thick)
4.4(4)งานชั้นผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีตหนา x ซม. (Asphalt Concrete Wearing Course X cm. Thick)
4.4(5)งานผิวไหล่ทางแอสฟัลต์คอนกรีต(Asphalt Concrete Shoulder)
4.4(6)งานโมดิไฟด์แอสฟัลต์คอนกรีต(Modified Asphalt Concrete x cm. Thick)
4.5)งานขอบผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีต(Asphalt Concrete Surface Edge x m. Width)
4.9(1)ผิวทางปอร์ตแลนด์ซีเมนต์หนา x ซม.(Portland Cement Concrete Pavement X cm. Thick)
4.9(2)รอยต่อเผื่อขยายตามขวาง(Expansion Joint)
4.9(3)รอยต่อเผื่อหดตามขวาง(Contraction Joint)
4.9(4)รอยต่อตามยาว(Longitudinal Joint)
4.9(5)รอยต่อถนนคอนกรีตกับรางพื้น(Dummy Joint)
4.9(6)รอยต่อตามถนนคอนกรีตกับลาดยาง(Edge Joint)
5.1(1)สะพานคอนกรีตสร้างใหม่ (New Conrete Bridge)
5.1(4)งานพื้นคอนกรีตปรับระดับช่วงเข้าสู่สะพาน(Bridge Approach Slab)
5.1(5)แบริ่งยูนิต(Bearing Unit)
5.1(6)งานอะบัดเมนท์ โพรเทคเตอร์ (Abutment Protector)
5.1(7)สะพานลอยคนเดินข้าม(Pedestrain Bridges)
5.2(1)งานท่อเหลี่ยมคอนกรีตเสริมเหล็กก่อสร้างใหม่(New R.C. Box Culverts)
5.3)งานท่อกลมคอนกรีตเสริมเหล็ก(R.C. Pipe Culverts) ขนาด x ม.
ที่มา : หน้า 65 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
วันอังคารที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
45 หลักเกณฑ์การประเมินราคาต้นทุนต่อหน่วยงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม
เนื่องจากในทุกรายการงานก่อสร้างในงานก่อสร้างทาง สะพานและท่อเหลี่ยม ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางจำเป็นต้องคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วย(Unit Cost) ดังนั้นในหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างทาง สะพานและท่อเหลี่ยม ฉบับนี้ จึงได้กำหนดและรวบรวมหลักเกณฑ์และหรือสูตรการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยสำหรับรายการต่างๆ ที่งานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม โดยทั่วไปควรจะมีไว้เพื่อให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางนำไปปรับใช้ตามความเหมาะสมและสอดคล้องตาม ข้อมูลข้อเท็จจริงสำหรับโครงการ/งานก่อสร้างที่ถอดแบบคำนวณราคากลางนั้น
แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางสามารถนำหลักเกณฑ์และหรือสูตรการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยดังกล่าว ไปปรับใช้ได้อย่างคล่องตัวและสอดคล้องตามข้อมูลข้อเท็จจริงสำหรับโครงการ/งานก่อสร้างที่ถอดแบบคำนวณราคากลางนั้น จึงได้กำหนดแนวทางปฏิบัติในเรื่องนี้เพิ่มเติมไว้ดังนี้
1)โครงการ/งานก่อสร้างที่สามารถประเมินค่าเฉลี่ยได้ ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางสามารถประเมินราคาต้นทุนรายการต่างๆจากค่าเฉลี่ย
2)สำหรับโครงการ/งานก่อสร้างที่ไม่สามารถประเมินค่าเฉลี่ยได้ หลักเกณฑ์หรือสูตรการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วย ที่กำหนดไว้นี้ เป็นเพียงแนวทางในการประเมินค่างานต้นทุนต่อหน่วยสำหรับรายการงานก่อสร้างต่างๆ ดังนั้น ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางจึงต้องพิจารณาในรายละเอียดจากแบบก่อสร้างเฉพาะสายทางหรือจากแบบก่อสร้างของโครงการ/งานก่อสร้างที่คำนวณราคากลางนั้น
3)โครงการ/งานก่อสร้างที่ไม่มีรูปแบบคงที่แน่นอน ให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางถอดแบบก่อสร้างเฉพาะสายทางหรือเฉพาะโครงการ/งานก่อสร้าง ที่ไม่มีรูปแบบคงที่แน่นอนนั้น
4)ในกรณีหน่วยงานอื่นที่ไม่ใช่กรมทางหลวงหรือที่ไม่ใช้แบบมาตรฐานของกรมทางหลวง ผู้มีหน้าที่ คำนวณราคากลางและหรือผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถพิจารณาและกำหนดหลักเกณฑ์ แนวทาง และวิธีการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยสำหรับรายการงานก่อสร้างต่างๆ ได้ตามข้อมูลข้อเท็จจริงที่สอดคล้องตามแบบมาตรฐานหรือตามแบบก่อสร้างสำหรัลโครงการ/งานก่อสร้างที่คำนวณราคากลางนั้น
5)รายการงานก่อสร้างใดที่ไม่มีหลักเกณฑ์หรือสูตรการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยที่กำหนดไว้ให้กำหนดหรือนำหลักเกณฑ์หรือสูตรการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยของรายการที่เกี่ยวข้องมาปรับใช้ได้ตามความเหมาะสมสอดคล้องตามข้อเท็จจริงสำหรับรายการงานก่อสร้างนั้นๆ
หลักเกณฑ์และหรือสูตรการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยของรายการงานก่อสร้างต่างๆในงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม มีตัวอย่างในบทความถัดไป
ที่มา : หน้า 64 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางสามารถนำหลักเกณฑ์และหรือสูตรการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยดังกล่าว ไปปรับใช้ได้อย่างคล่องตัวและสอดคล้องตามข้อมูลข้อเท็จจริงสำหรับโครงการ/งานก่อสร้างที่ถอดแบบคำนวณราคากลางนั้น จึงได้กำหนดแนวทางปฏิบัติในเรื่องนี้เพิ่มเติมไว้ดังนี้
1)โครงการ/งานก่อสร้างที่สามารถประเมินค่าเฉลี่ยได้ ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางสามารถประเมินราคาต้นทุนรายการต่างๆจากค่าเฉลี่ย
2)สำหรับโครงการ/งานก่อสร้างที่ไม่สามารถประเมินค่าเฉลี่ยได้ หลักเกณฑ์หรือสูตรการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วย ที่กำหนดไว้นี้ เป็นเพียงแนวทางในการประเมินค่างานต้นทุนต่อหน่วยสำหรับรายการงานก่อสร้างต่างๆ ดังนั้น ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางจึงต้องพิจารณาในรายละเอียดจากแบบก่อสร้างเฉพาะสายทางหรือจากแบบก่อสร้างของโครงการ/งานก่อสร้างที่คำนวณราคากลางนั้น
3)โครงการ/งานก่อสร้างที่ไม่มีรูปแบบคงที่แน่นอน ให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางถอดแบบก่อสร้างเฉพาะสายทางหรือเฉพาะโครงการ/งานก่อสร้าง ที่ไม่มีรูปแบบคงที่แน่นอนนั้น
4)ในกรณีหน่วยงานอื่นที่ไม่ใช่กรมทางหลวงหรือที่ไม่ใช้แบบมาตรฐานของกรมทางหลวง ผู้มีหน้าที่ คำนวณราคากลางและหรือผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถพิจารณาและกำหนดหลักเกณฑ์ แนวทาง และวิธีการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยสำหรับรายการงานก่อสร้างต่างๆ ได้ตามข้อมูลข้อเท็จจริงที่สอดคล้องตามแบบมาตรฐานหรือตามแบบก่อสร้างสำหรัลโครงการ/งานก่อสร้างที่คำนวณราคากลางนั้น
5)รายการงานก่อสร้างใดที่ไม่มีหลักเกณฑ์หรือสูตรการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยที่กำหนดไว้ให้กำหนดหรือนำหลักเกณฑ์หรือสูตรการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยของรายการที่เกี่ยวข้องมาปรับใช้ได้ตามความเหมาะสมสอดคล้องตามข้อเท็จจริงสำหรับรายการงานก่อสร้างนั้นๆ
หลักเกณฑ์และหรือสูตรการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยของรายการงานก่อสร้างต่างๆในงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม มีตัวอย่างในบทความถัดไป
ที่มา : หน้า 64 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
วันอาทิตย์ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
44 : การวัดพื้นที่และระยะทางด้วยGoogle Map
คลิกขวาบนแผนที่ เลือกเมนูวัดระยะทาง
คลิกตามnode กระทั่งครบloop ได้พื้นที่ และระยะทางระหว่างnode
คลิกตามnode กระทั่งครบloop ได้พื้นที่ และระยะทางระหว่างnode
43 ประโยชน์ของ Value Engineering
ความหมายของ Value Engineering คือ การดำเนินการทางการใดๆ
เพื่อที่ทำให้เกิดประโยชน์ใช้สอยต่อหน่วยของสิ่งนั้นมากขึ้น
เมื่อเทียบกับสิ่งที่ invest ในสิ่งนั้น ความหมายของ Value Engineering
จึงมีมากกว่าการลดต้นทุนของการสร้างสิ่งนั้น
ตัวอย่างเช่น การเพิ่ม Value Engineering ห้องนอนขนาด 45 ตารางเมตรในคอนโดมิเนียมซึ่งกำลังออกแบบแห่งหนึ่ง การดำเนินการจะมีมากกว่าการเลือกใช้วัสดุราคาไม่แพงด้วยการจัดซื้อและ กำหนดspecification การลดปริมาณเหล็กเสริมคอนกรีตด้วยการออกแบบโครงสร้าง แต่ยังเพิ่มคุณค่าของห้องนอนนี้ด้วยการเพิ่มประโยชน์ใช้สอยอื่นๆเข้าไปเช่น มีพื้นที่สำหรับทำอาหาร มีการออกแบบตู้เก็บของในเชิงการตกแต่งภายในซึ่งบรรจุสัมภาระได้มากขึ้นกว่า แบบเดิมก่อนพัฒนาในเชิง Value Engineering ทำให้มีพื้นที่spaceใช้สอยในกรอบขนาด 45 ตารางเมตรมากขึ้น
ประโยชน์ของ Value Engineering จึงเกิดต่อทุกๆฝ่าย ลูกค้าได้ห้องซึ่งมีประโยชน์ใช้สอยมากขึ้นในราคาที่ถูกกว่ารายอื่น ผู้ประกอบการสร้างอาคารใช้ต้นทุนและทรัพยากรลดงอันนำไปถึงการได้ผลตอบแทนมาก ขึ้นจากการประกอบกิจการ ผู้ออกแบบได้ใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่ในวิชาชีพของตน ลดปริมาณการใช้ทรัพยากรต่อหน่วยของงานก่อสร้างได้
ตัวอย่างเช่น การเพิ่ม Value Engineering ห้องนอนขนาด 45 ตารางเมตรในคอนโดมิเนียมซึ่งกำลังออกแบบแห่งหนึ่ง การดำเนินการจะมีมากกว่าการเลือกใช้วัสดุราคาไม่แพงด้วยการจัดซื้อและ กำหนดspecification การลดปริมาณเหล็กเสริมคอนกรีตด้วยการออกแบบโครงสร้าง แต่ยังเพิ่มคุณค่าของห้องนอนนี้ด้วยการเพิ่มประโยชน์ใช้สอยอื่นๆเข้าไปเช่น มีพื้นที่สำหรับทำอาหาร มีการออกแบบตู้เก็บของในเชิงการตกแต่งภายในซึ่งบรรจุสัมภาระได้มากขึ้นกว่า แบบเดิมก่อนพัฒนาในเชิง Value Engineering ทำให้มีพื้นที่spaceใช้สอยในกรอบขนาด 45 ตารางเมตรมากขึ้น
ประโยชน์ของ Value Engineering จึงเกิดต่อทุกๆฝ่าย ลูกค้าได้ห้องซึ่งมีประโยชน์ใช้สอยมากขึ้นในราคาที่ถูกกว่ารายอื่น ผู้ประกอบการสร้างอาคารใช้ต้นทุนและทรัพยากรลดงอันนำไปถึงการได้ผลตอบแทนมาก ขึ้นจากการประกอบกิจการ ผู้ออกแบบได้ใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่ในวิชาชีพของตน ลดปริมาณการใช้ทรัพยากรต่อหน่วยของงานก่อสร้างได้
42 หลักเกณฑ์การถอดแบบคำนวณปริมาณวัสดุ งานก่อสร้างทาง สะพานและท่อเหลี่ยม(3/3)
หลักเกณฑ์การถอดแบบคำนวณปริมาณวัสดุ งานก่อสร้างทาง สะพานและท่อหลี่ยม(3/3)
13)วัสดุรองพื้น
ทรายหยาบบอดอัดแน่นด้วยแรงคน โดยเผื่อการยุบตัว 25%
14)ลวดผูกเหล็กเสริม
ให้คิดคำนวณ 25 กก. , เหล็กเสริม 1,000 กก.
15)งานเหล็กเสริมคอนกรีต
15.1)เหล็กเส้นกลมผิวเรียบ คุณภาพ SR-24
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 มม. น้ำหนัก 0.222 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 9 มม. น้ำหนัก 0.499 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 มม. น้ำหนัก 0.888 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15 มม. น้ำหนัก 1.390 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 19 มม. น้ำหนัก 2.230 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 มม. น้ำหนัก 3.850 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 28 มม. น้ำหนัก 4.830 กก./ม.
15.2) เหล็กเส้นกลมผิวข้ออ้อย คุณภาพ SD-30 และ SD-40
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 มม. น้ำหนัก 0.888 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 16 มม. น้ำหนัก 1.580 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 มม. น้ำหนัก 2.470 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 มม. น้ำหนัก 3.850 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 28 มม. น้ำหนัก 4.830 กก./ม.
15.3)ลวดเหล็กอัดแรง PC WIRE
PC 4 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 มม. น้ำหนัก 0.099 กก./ม.
PC 5 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 มม. น้ำหนัก 0.154 กก./ม.
PC 7 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 มม. น้ำหนัก 0.302 กก./ม.
PC 9 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 9 มม. น้ำหนัก 0.499 กก./ม.
15.4) ลวดเหล็กตีเกลียว ชนิด 7 เส้น
-ชั้นคุณภาพ 1725
SPC 4 A ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 9.53 มม. น้ำหนัก 0.405 กก./ม.
SPC 12 A ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12.70 มม. น้ำหนัก 0.730 กก./ม.
SPC 15 A ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15.24 มม. น้ำหนัก 1.094 กก./ม.
-ชั้นคุณภาพ 1860
SPC 9 B ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 9.53 มม. น้ำหนัก 0.432 กก./ม.
SPC 12 B ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12.70 มม. น้ำหนัก 0.775 กก./ม.
SPC 15 B ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15.24 มม. น้ำหนัก 1.102 กก./ม.
การเผื่อส่วนสูญเสียสำหรับลวดเหล็กอัดแรงและลวดเหล็กตีเกลียวคิดคำนวณเผื่อสูญเสียในการดึงลวดที่ปลายทั้งสองด้านๆละ 1.00 เมตร ต่อลวด 1 เส้น
16)งานหินเรียง(RIPRAP)
ปริมาณหินเรียงคิดคำนวณตามแบบ มีหน่วยเป็น ลบ.ม.
ปริมาณหินเรียง 1 ลบ.ม.ใช้วัสดุ
หินใหญ่ 1.15 ลบ.ม. , ปูนซีเมนต์ 200 กก. , ทราย 0.56 ลบ.ม.
17)เข็มพืด(Sheet Pile)ป้องกันการพังทลายของดิน
การใช้เข็มพืด(Sheet Pile)ป้องกันการพังทลายของดิน ให้ประเมินราคาต้นทุน โดยพิจารณาจากความลึกวิกฤติ(Hc) ของการขุดดินในพื้นที่ต่างๆจากสูตร ดงันี้
Hc = 4*Su/(v*F.S.)
โดยที่
Hc = ความลึกวิกฤติ (Critical Height)
Su = กำลังรับแรงเฉือน (Undrained Shear Strength)
v =หน่วยน้ำหนักของดิน (Unit Weight)
F.S. = อัตราส่วนความปลอดภัย (f=Factor of Safety)
Su < 1.25 ตัน/ตร.ม. กรณีดินอ่อนมาก
Su = 1.25-1.99 ตัน/ตร.ม. กรณีดินอ่อน
Su = 2 ตัน/ตร.ม. ขึ้นไป กรณีดินแข็ง
v = 1.5 ตัน/ลบ.ม.
F.S. = 1 กรณีต้องมีเข็มพืด (Sheet Pile)
กรณีมีการถมดินเพิ่มให้รวมความสูงดินถมใน Hc ด้วย
จากสูตรดังกล่าวจะได้ค่าความลึกวิกฤติ (Hc) ดังนี้
ในพื้นที่ดินอ่อนมาก Hc = 1.67 เมตร โดยประมาณ
ในพื้นที่ดินอ่อน Hc = 4.33 เมตร โดยประมาณ
ในพื้นที่ดินแข็ง Hc = 5.33 เมตร โดยประมาณ
จึงกำหนดให้ใช้เข็มพืด (Sheet Pile) ในการประเมินราคาต้นทุน ดังนี้
ในพื้นที่ดินอ่อนมาก การขุดลึกมากกว่า 1.70 เมตร ให้ใช้เข็มพืด (Sheet Pile)
ในพื้นที่ดินอ่อน การขุดลึกมากกว่า 4.30 เมตร ให้ใช้เข็มพืด (Sheet Pile)
ในพื้นที่ดินแข็ง การขุดลึกมากกว่า 5.00 เมตร ให้ใช้เข็มพืด (Sheet Pile)
ที่มา : หน้า61 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
F.S. = อัตราส่วนความปลอดภัย (f=Factor of Safety)
Su < 1.25 ตัน/ตร.ม. กรณีดินอ่อนมาก
Su = 1.25-1.99 ตัน/ตร.ม. กรณีดินอ่อน
Su = 2 ตัน/ตร.ม. ขึ้นไป กรณีดินแข็ง
v = 1.5 ตัน/ลบ.ม.
F.S. = 1 กรณีต้องมีเข็มพืด (Sheet Pile)
กรณีมีการถมดินเพิ่มให้รวมความสูงดินถมใน Hc ด้วย
จากสูตรดังกล่าวจะได้ค่าความลึกวิกฤติ (Hc) ดังนี้
ในพื้นที่ดินอ่อนมาก Hc = 1.67 เมตร โดยประมาณ
ในพื้นที่ดินอ่อน Hc = 4.33 เมตร โดยประมาณ
ในพื้นที่ดินแข็ง Hc = 5.33 เมตร โดยประมาณ
จึงกำหนดให้ใช้เข็มพืด (Sheet Pile) ในการประเมินราคาต้นทุน ดังนี้
ในพื้นที่ดินอ่อนมาก การขุดลึกมากกว่า 1.70 เมตร ให้ใช้เข็มพืด (Sheet Pile)
ในพื้นที่ดินอ่อน การขุดลึกมากกว่า 4.30 เมตร ให้ใช้เข็มพืด (Sheet Pile)
ในพื้นที่ดินแข็ง การขุดลึกมากกว่า 5.00 เมตร ให้ใช้เข็มพืด (Sheet Pile)
ที่มา : หน้า61 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
41 หลักเกณฑ์การถอดแบบคำนวณปริมาณวัสดุ งานก่อสร้างทาง สะพานและท่อเหลี่ยม(2/3)
หลักเกณฑ์การถอดแบบคำนวณปริมาณวัสดุ งานก่อสร้างทาง สะพานและท่อเหลี่ยม(2/3)
8)อัตราส่วนของวัสดุในคอนกรีต Class ต่างๆ (1ลบ.ม.แน่น)
8.1)อัตราส่วนของวัสดุในคอนกรีต Class ต่างๆ (1ลบ.ม.แน่น) ตามมาตรฐานกรมทางหลวง
8.1.1)กรณีทรายและหินมีหน่วยเป็นน้ำหนัก
ภาพประกอบ
8.1.2)กรณีทรายและหินมีหน่วยเป็นปริมาตร
ภาพประกอบ
8.2)อัตราส่วนของวัสดุในคอนกรีต Class ต่างๆ (1ลบ.ม.แน่น) ตามมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท
8.2.1)กรณีทรายและหินมีหน่วยเป็นน้ำหนัก
ภาพประกอบ
8.2.2)กรณีทรายและหินมีหน่วยเป็นปริมาตร
ภาพประกอบ
หมายเหตุ :
-ตัวเลขในวงเล็บเป็นค่ากลางที่ใช้ในการคำนวณค่ากลาง
-กรณีที่มีการออกแบบอัตราส่วนของวัสดุในคอนกรีตไว้แล้ว อาจใช้อัตราส่วนของวัสดุในคอนกรีต ในการคำนวณราคากลาง
-ในตารางข้อ 8.1.2 เป็นค่าแนะนำในการคำนวณราคากลางโดยให้หน่วยน้ำหนักเฉลี่ยของทรายและหินมีค่า เท่ากับ 1,679 และ 1,565 กก./ลบ.ม. ตามลำดับ
-อัตราส่วนของวัสดุในคอนกรีต Classต่างๆ ในทั้ง 4 ตาราง ตามข้อ 8.1 และข้อ 8.2 คำนวณจากปริมาตรคอนกรีต 1 ลบ.ม. แน่น ซึ่งปริมาตรของทรายและหินที่แสดงในตารางตามข้อ 8.1.2 และข้อ 8.2.2 เป็นปริมาตรหลวม
-การคำนวณอัตราส่วนของวัสดุในคอนกรีต Classต่างๆนั้นจะต้องเผื่อส่วนยุบตัวและสูญเสียไว้ด้วยดังนี้
(1)เผื่อส่วนยุบตัวและสูญเสียของหิน สัดส่วน 1.15 หรือ 15%
(2)เผื่อส่วนยุบตัวและสูญเสียของทราย สัดส่วน 1.20 หรือ 20%
(3)เผื่อความสูญเสียของซีเมนต์ สัดส่วน 1.05 หรือ 5%
8.3)ในกรณีของโครงการ/งานก่อสร้างใด ที่ไม่สามารถปรับใช้อัตราส่วนของวัสดุในคอนกรีต ตามที่กำหนดในตารางข้อ 8.1 และข้อ 8.2 ได้ ให้ผู้ออกแบบโครงการ/งานก่อสร้างนั้น กำหนดอัตราส่วนหรือสัดส่วนขึ้นใหม่ตามหลักการคำนวณทางด้านวิศวกรรมโครงการ/งานก่อสร้างนั้นๆ โดยต้องระบุอัตราส่วนหรือสัดส่วนของวัสดุในคอนกรีตที่กำหนดให้ใช้ขั้นต่ำในขั้นตอนการก่อสร้างไว้ด้วย และให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางใช้อัตราส่วนหรือสัดส่วนของวัสดุในคอนกรีตที่กำหนดให้ใช้ขั้นต่ำนั้น ในการคำนวณราคากลาง
9)ปูนก่อและปูนฉาบ
ใช้ปูนซีเมนต์ผสมคุณภาพตามมาตรฐาน มอก.80/2517 และอัตราส่วนของวัสดุเป็นปริมาตร 1 ลบ.ม.แน่น
ปูนก่อ 1:1:3 by vol. ใช้อัตราส่วนดังนี้
ซีเมนต์ 440 กก. , ปูนขาว 220 กก. , ทราย 950ลิตร
ปูนฉาบ 1:2:5 by vol. ใช้อัตราส่วนดังนี้
ซีเมนต์ 300 กก. , ปูนขาว 300 กก. , ทราย 1,100 ลิตร
10)งานก่อผนัง
งานก่อผนังด้วยวัสดุชนิดต่างๆ ดังต่อไปนี้ คำนวณเป็นปริมาณวัสดุมวลรวม ต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร ซึ่งได้รวมเผื่อการสูญเสียไว้แล้ว
10.1)ก่ออิฐมอญครึ่งแผ่น ขนาด 3.5 x 7 x 16 ซม.
อิฐมอญ 138ก้อน , ปูนซีเมนต์ (มอก.80/2517เช่นตราเสือ) 16 กก., ปูนขาว 10.29 กก. , ทรายหยาบ 0.06 ลบ.ม.
10.2)ก่ออิฐมอญเต็มแผ่น ขนาด 3.5 x 7 x 16 ซม.
อิฐมอญ 276ก้อน , ปูนซีเมนต์ (มอก.80/2517เช่นตราเสือ) 34 กก., ปูนขาว 20.59 กก. , ทรายหยาบ 0.12 ลบ.ม.
10.3)ก่ออิฐซีเมนต์บล็อค ขนาด 7 x 19 x 39 ซม.
อิฐบล็อค 13ก้อน , ปูนซีเมนต์ (มอก.80/2517เช่นตราเสือ) 6.75 กก., ปูนขาว 3.25 กก. , ทรายหยาบ 0.03 ลบ.ม.
10.4)ก่ออิฐซีเมนต์บล็อค ขนาด 9 x 19 x 39 ซม.
อิฐบล็อค 13ก้อน , ปูนซีเมนต์ (มอก.80/2517เช่นตราเสือ) 9.47 กก., ปูนขาว 5.43 กก. , ทรายหยาบ 0.04 ลบ.ม.
11)งานทำผิวหนัง
งานทำผิวผนัง กรณีปูนฉาบผิวเรียบ คำนวณเป็นปริมาณวัสดุมวลรวม ต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร ซึ่งได้รวมเผื่อการสูญเสียไว้แล้ว
ปูนฉาบผิวเรียบ หนา 1.5 ซม.
ปูนซีเมนต์ (มอก.80/2517 เช่น ตราเสือ) 8.42 กก. , ทรายละเอียด 0.03 ลบ.ม. , ปูนขาว 7.70 กก.
12)ไม้แบบหล่อคอนกรีต
ไม้แบบสำหรับงานโครงสร้างคอนกรีตต่างๆ ให้แบ่งตามลักษณะงาน เป็น 3 ประเภทดังนี้
(1)ไม้แบบงานทั่วไป ใช้สำหรับงานต่างๆ เช่น งาน R.C. Manhole , Catch Basins, Drop Inlet, Retaining Wall, Concrete Barriers เป็นต้น
ปริมาณงานไม้แบบงานทั่วไปหรือไม้แบบ(1) พื้นที่ 1 ตารางเมตร
ไม้กระบากหรือไม้ยางหรือเทียบเท่า 1ลบ.ฟ. , ไม้คร่าว 0.30ลบ.ฟ. , ไม้ค้ำยันไม้แบบ 0.30 ต้น , ตะปู 0.25 กก./ตร.ม. , น้ำมันทาผิวไม้ 1 ตร.ม.
ให้ลดปริมาณไม้แบบเนื่องจากใช้งานได้ประมาณ 4 ครั้ง ส่วนค่าแรงและน้ำมันทาผิวไม้ให้คิดเต็มปริมาณไม้แบบ
(2)ไม้แบบงานอย่างง่าย ใช้สำหรับงานต่างๆ เช่น Curb and Gutter , R.C. Ditchling , Concrete Slope Protection , Guide Post , R.OW. Monument , Sign Post, Kilometer Stone เป็นต้น
ปริมาณงานไม้แบบงานทั่วไปหรือไม้แบบ(2) พื้นที่ 1 ตารางเมตร
มีรายละเอียดเหมือนไม้แบบ(1) แต่ให้ลดปริมาณไม้แบบเนื่องจากใช้งานได้ประมาณ 5 ครั้ง ส่วนค่าแรงและน้ำมันทาผิวไม้คิดเต็มปริมาณไม้แบบ
(3)ไม้แบบงานสะพานและท่อเหลี่ยม
ปริมาณงานไม้แบบงานทั่วไปหรือไม้แบบ(3) พื้นที่ 1 ตารางเมตร
ไม้กระบากหรือไม้ยางหรือเทียบเท่า 1ลบ.ฟ. , ไม้อัดยางหนา 4 มม., ไม้เคร่า 0.30 ลบ.ฟ. , ตะปู 0.25 กก./ตร.ม. , น้ำมันทาผิวไม้ 1 ตร.ม.
และให้ดำเนินการ ดังนี้
ก)ลดค่าวัสดุไม้แบบเนื่องจากใช้งานได้ประมาณ 3 ครั้ง ส่วนค่าแรงและน้ำมันทาผิวไม้คิดเต็มปริมาณไม้แบบ
ข)เสาค้ำยันงานท่อเหลี่ยม ใช้เสาเข็มไม้ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 6" x 6.00ม. ความยาวให้พิจารณาตามความเหมาะสม ส่วน Bracing ให้ใช้เสาเข็มไม้ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 4" x 4.00ม. ความยาวให้พิจารณาตามความเหมาะสม
ค)นั่งร้านปั้นจั่นและนั่งร้านรับพื้นสะพาน ให้พิจารณาเลือกใช้วัสดุตามความเหมาะสมโดยคำนึงถึงความแข็งแรงและการรับน้ำหนักของโครงสร้างขณะเทคอนกรีตได้ โดยมีการทรุดตัวไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด
ที่มา : หน้า 57 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม
8)อัตราส่วนของวัสดุในคอนกรีต Class ต่างๆ (1ลบ.ม.แน่น)
8.1)อัตราส่วนของวัสดุในคอนกรีต Class ต่างๆ (1ลบ.ม.แน่น) ตามมาตรฐานกรมทางหลวง
8.1.1)กรณีทรายและหินมีหน่วยเป็นน้ำหนัก
ภาพประกอบ
8.1.2)กรณีทรายและหินมีหน่วยเป็นปริมาตร
ภาพประกอบ
8.2)อัตราส่วนของวัสดุในคอนกรีต Class ต่างๆ (1ลบ.ม.แน่น) ตามมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท
8.2.1)กรณีทรายและหินมีหน่วยเป็นน้ำหนัก
ภาพประกอบ
8.2.2)กรณีทรายและหินมีหน่วยเป็นปริมาตร
ภาพประกอบ
หมายเหตุ :
-ตัวเลขในวงเล็บเป็นค่ากลางที่ใช้ในการคำนวณค่ากลาง
-กรณีที่มีการออกแบบอัตราส่วนของวัสดุในคอนกรีตไว้แล้ว อาจใช้อัตราส่วนของวัสดุในคอนกรีต ในการคำนวณราคากลาง
-ในตารางข้อ 8.1.2 เป็นค่าแนะนำในการคำนวณราคากลางโดยให้หน่วยน้ำหนักเฉลี่ยของทรายและหินมีค่า เท่ากับ 1,679 และ 1,565 กก./ลบ.ม. ตามลำดับ
-อัตราส่วนของวัสดุในคอนกรีต Classต่างๆ ในทั้ง 4 ตาราง ตามข้อ 8.1 และข้อ 8.2 คำนวณจากปริมาตรคอนกรีต 1 ลบ.ม. แน่น ซึ่งปริมาตรของทรายและหินที่แสดงในตารางตามข้อ 8.1.2 และข้อ 8.2.2 เป็นปริมาตรหลวม
-การคำนวณอัตราส่วนของวัสดุในคอนกรีต Classต่างๆนั้นจะต้องเผื่อส่วนยุบตัวและสูญเสียไว้ด้วยดังนี้
(1)เผื่อส่วนยุบตัวและสูญเสียของหิน สัดส่วน 1.15 หรือ 15%
(2)เผื่อส่วนยุบตัวและสูญเสียของทราย สัดส่วน 1.20 หรือ 20%
(3)เผื่อความสูญเสียของซีเมนต์ สัดส่วน 1.05 หรือ 5%
8.3)ในกรณีของโครงการ/งานก่อสร้างใด ที่ไม่สามารถปรับใช้อัตราส่วนของวัสดุในคอนกรีต ตามที่กำหนดในตารางข้อ 8.1 และข้อ 8.2 ได้ ให้ผู้ออกแบบโครงการ/งานก่อสร้างนั้น กำหนดอัตราส่วนหรือสัดส่วนขึ้นใหม่ตามหลักการคำนวณทางด้านวิศวกรรมโครงการ/งานก่อสร้างนั้นๆ โดยต้องระบุอัตราส่วนหรือสัดส่วนของวัสดุในคอนกรีตที่กำหนดให้ใช้ขั้นต่ำในขั้นตอนการก่อสร้างไว้ด้วย และให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางใช้อัตราส่วนหรือสัดส่วนของวัสดุในคอนกรีตที่กำหนดให้ใช้ขั้นต่ำนั้น ในการคำนวณราคากลาง
9)ปูนก่อและปูนฉาบ
ใช้ปูนซีเมนต์ผสมคุณภาพตามมาตรฐาน มอก.80/2517 และอัตราส่วนของวัสดุเป็นปริมาตร 1 ลบ.ม.แน่น
ปูนก่อ 1:1:3 by vol. ใช้อัตราส่วนดังนี้
ซีเมนต์ 440 กก. , ปูนขาว 220 กก. , ทราย 950ลิตร
ปูนฉาบ 1:2:5 by vol. ใช้อัตราส่วนดังนี้
ซีเมนต์ 300 กก. , ปูนขาว 300 กก. , ทราย 1,100 ลิตร
10)งานก่อผนัง
งานก่อผนังด้วยวัสดุชนิดต่างๆ ดังต่อไปนี้ คำนวณเป็นปริมาณวัสดุมวลรวม ต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร ซึ่งได้รวมเผื่อการสูญเสียไว้แล้ว
10.1)ก่ออิฐมอญครึ่งแผ่น ขนาด 3.5 x 7 x 16 ซม.
อิฐมอญ 138ก้อน , ปูนซีเมนต์ (มอก.80/2517เช่นตราเสือ) 16 กก., ปูนขาว 10.29 กก. , ทรายหยาบ 0.06 ลบ.ม.
10.2)ก่ออิฐมอญเต็มแผ่น ขนาด 3.5 x 7 x 16 ซม.
อิฐมอญ 276ก้อน , ปูนซีเมนต์ (มอก.80/2517เช่นตราเสือ) 34 กก., ปูนขาว 20.59 กก. , ทรายหยาบ 0.12 ลบ.ม.
10.3)ก่ออิฐซีเมนต์บล็อค ขนาด 7 x 19 x 39 ซม.
อิฐบล็อค 13ก้อน , ปูนซีเมนต์ (มอก.80/2517เช่นตราเสือ) 6.75 กก., ปูนขาว 3.25 กก. , ทรายหยาบ 0.03 ลบ.ม.
10.4)ก่ออิฐซีเมนต์บล็อค ขนาด 9 x 19 x 39 ซม.
อิฐบล็อค 13ก้อน , ปูนซีเมนต์ (มอก.80/2517เช่นตราเสือ) 9.47 กก., ปูนขาว 5.43 กก. , ทรายหยาบ 0.04 ลบ.ม.
11)งานทำผิวหนัง
งานทำผิวผนัง กรณีปูนฉาบผิวเรียบ คำนวณเป็นปริมาณวัสดุมวลรวม ต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร ซึ่งได้รวมเผื่อการสูญเสียไว้แล้ว
ปูนฉาบผิวเรียบ หนา 1.5 ซม.
ปูนซีเมนต์ (มอก.80/2517 เช่น ตราเสือ) 8.42 กก. , ทรายละเอียด 0.03 ลบ.ม. , ปูนขาว 7.70 กก.
12)ไม้แบบหล่อคอนกรีต
ไม้แบบสำหรับงานโครงสร้างคอนกรีตต่างๆ ให้แบ่งตามลักษณะงาน เป็น 3 ประเภทดังนี้
(1)ไม้แบบงานทั่วไป ใช้สำหรับงานต่างๆ เช่น งาน R.C. Manhole , Catch Basins, Drop Inlet, Retaining Wall, Concrete Barriers เป็นต้น
ปริมาณงานไม้แบบงานทั่วไปหรือไม้แบบ(1) พื้นที่ 1 ตารางเมตร
ไม้กระบากหรือไม้ยางหรือเทียบเท่า 1ลบ.ฟ. , ไม้คร่าว 0.30ลบ.ฟ. , ไม้ค้ำยันไม้แบบ 0.30 ต้น , ตะปู 0.25 กก./ตร.ม. , น้ำมันทาผิวไม้ 1 ตร.ม.
ให้ลดปริมาณไม้แบบเนื่องจากใช้งานได้ประมาณ 4 ครั้ง ส่วนค่าแรงและน้ำมันทาผิวไม้ให้คิดเต็มปริมาณไม้แบบ
(2)ไม้แบบงานอย่างง่าย ใช้สำหรับงานต่างๆ เช่น Curb and Gutter , R.C. Ditchling , Concrete Slope Protection , Guide Post , R.OW. Monument , Sign Post, Kilometer Stone เป็นต้น
ปริมาณงานไม้แบบงานทั่วไปหรือไม้แบบ(2) พื้นที่ 1 ตารางเมตร
มีรายละเอียดเหมือนไม้แบบ(1) แต่ให้ลดปริมาณไม้แบบเนื่องจากใช้งานได้ประมาณ 5 ครั้ง ส่วนค่าแรงและน้ำมันทาผิวไม้คิดเต็มปริมาณไม้แบบ
(3)ไม้แบบงานสะพานและท่อเหลี่ยม
ปริมาณงานไม้แบบงานทั่วไปหรือไม้แบบ(3) พื้นที่ 1 ตารางเมตร
ไม้กระบากหรือไม้ยางหรือเทียบเท่า 1ลบ.ฟ. , ไม้อัดยางหนา 4 มม., ไม้เคร่า 0.30 ลบ.ฟ. , ตะปู 0.25 กก./ตร.ม. , น้ำมันทาผิวไม้ 1 ตร.ม.
และให้ดำเนินการ ดังนี้
ก)ลดค่าวัสดุไม้แบบเนื่องจากใช้งานได้ประมาณ 3 ครั้ง ส่วนค่าแรงและน้ำมันทาผิวไม้คิดเต็มปริมาณไม้แบบ
ข)เสาค้ำยันงานท่อเหลี่ยม ใช้เสาเข็มไม้ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 6" x 6.00ม. ความยาวให้พิจารณาตามความเหมาะสม ส่วน Bracing ให้ใช้เสาเข็มไม้ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 4" x 4.00ม. ความยาวให้พิจารณาตามความเหมาะสม
ค)นั่งร้านปั้นจั่นและนั่งร้านรับพื้นสะพาน ให้พิจารณาเลือกใช้วัสดุตามความเหมาะสมโดยคำนึงถึงความแข็งแรงและการรับน้ำหนักของโครงสร้างขณะเทคอนกรีตได้ โดยมีการทรุดตัวไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด
ที่มา : หน้า 57 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม
40 หลักเกณฑ์การถอดแบบคำนวณปริมาณวัสดุ งานก่อสร้างทาง สะพานและท่อเหลี่ยม(1/3)
เป็นหลักเกณฑ์ แนวทาง และวิธีปฏิบัติ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานการวัด การคำนวณปริมาณงานและเกณฑ์การเผื่อ ในการวัดและคำนวณปริมาณงานก่อสร้างทาง สะพานและท่อเหลี่ยม ดังต่อไปนี้
1)มาตรฐานการวัด (Measurement)
1.1)ถ้ามิได้ระบุไว้เป็นอย่างอื่น การวัดปริมาณงานต่างๆต้องเป็นไปตามข้อกพหนดในข้อ(ก) (ข) (ค) และ (ง) ดังนี้่
(ก)ขนาดของความยาวจะต้องวัดให้ใกล้เคียงถึง 0.10 เมตร ยกเว้นสำหรับความหนาของแผ่นพื้นที่ ซึ่งต้องวัดให้ใกล้เคียงถึง 0.005 เมตร ( 0.5 เซนติเมตร )
(ข)ขนาดของพื้นที่ ต้องวัดให้ใกล้เคียงถึง 0.01 ตารางเมตร
(ค)ขนาดของปริมาตร ต้องวัดให้ใกล้เคียงถึง 0.01 ลูกบาศ์กเมตร
(ง)ขนาดของน้ำหนัก ต้องวัดให้ใกล้เคียงถึง 1 กิโลกรัม
1.2)การวัเปริมาณงาน ต้องวัดปริมาณผลงานจริงที่ปรากฏในตำแหน่งนั้น (Fixed in Position)
1.3)ในกรณีที่มาตรฐานระบุถึงพื้นที่ช่องเปิดน้อยสุด ซึ่งจะทำการหักออกจากปริมาณงานทั้งหมดนั้น ช่องเปิดที่กล่าวถึงนี้หมายความถึงช่องเปิดซึ่งอยู่ภายในเส้นขอบเขตของพื้นที่ที่ทำการวัดนั้น จะต้องหักออกจากปริมาณงานทั้งหมดเสมอ
2)งานบ่อพักท่อระบายน้ำ
กรณีที่มีท่อระบายน้ำขนาดไม่เกินกว่า เส้นผ่านศูนย์ลกาง 0.30 เมตร ต่อเข้าบ่อพัก ไม่ต้องหักพื้นที่ท่อระบายน้ำออก สำหรับท่อระบายน้ำขนาดใหญ่กว่า เส้นผ่านศูนย์ลกาง 0.30 เมตร ให้หักพื้นที่ท่อระบายน้ำออกด้วย
3)งานดิน
3.1)ปริมาณงานขุดดิน ให้วัดเป็นลูกบาศ์กเมตรของดิน และคิดคำนวณเนื้องานเท่ากับขนาดความยาวและความกว้างของผิวโครงสร้าง โดยเผื่อพื้นที่กันดินพังและเผื่อการทำงานห่างจากขอบนอกสุดของงานโครงสร้าง 0.50 เมตร
3.2)ปริมาณงานดินถมกลับ ให้ใช้ปริมาตรดินเดิมของหลุมที่ขุดลบด้วยปริมาตรของรูปโครงสร้าง
4)งานคอนกรีต
ให้คิดเป็นลูกบาศ์กเมตร ในการวัดเนื้องานคอนกรีต ให้คำนวณปริมาณเป็นลูกบาศ์กเมตรที่หักเนื้อ คอนกรีตบริเวณจุดต่อที่มีปริมาณซ้ำกันออก
5)งานแบบหล่อคอนกรีต (งานไม้แบบ แบบเหล็ก รวมทั้งแบบโลหะอื่นๆ)
ให้คิดคำนวณปริมาณงานเป็นตารางเมตร การวัดเนื้องานใหเ้คำนวณจากพื้นที่ผิวคอนกรีตของโครงสร้างแต่ละประเภทที่ต้องมีแบบหล่อคอนกรีตรองรับในขณะหล่อคอนกรีต (การค้ำยัน การยึด การเจาะรูเสียบเหล็ก และอุปกรณ์อื่นๆ ที่จำเป็น ในการทำงานให้ถูกต้องตามวิธีการ ให้รวมอยู่ในราคาต่อหน่วย)
6)งานเหล็กเสริมในคอนกรีต
การวัดเนื้องานให้คิดคำนวณตามแบบก่อสร้างที่แสดงไว้ โดยวัดปริมาณเป็นน้ำหนักและมีหน่วยเป็นกิโลกรัมหรือตัน การเผื่อเศษเสียหายให้เพิ่มปริมาณเผื่อได้ 10%
การวัดความยาวของเหล็กเสริม
ความยาวเหล็กปลอกหรือเหล็กรัดรอบที่คล้ายเหล็กปลอกให้วัดระยะจริงตามแบบ
จำนวนเหล็กปลอกให้หาเฉลี่ยจากระยะที่แสดงในแบบ เศษให้ปัดเป็น 1
ความยาวและจำนวนเหล็กเสิรมพิเศษ ให้คิดคำนวณตามที่แสดงในแบบ
ความยาวและจำนวนเหล็กเสิรมหลัก ให้คิดจำนวนตามแบบ เศษปัดเป็น 1 ส่วนความยาวให้คิดตามรูปที่กำหนดในแบบ
ระยะงอ ระยะทาบ หากไม่ระบุในแบบ ให้ใช้ตามมาตรฐาน วสท.
7)งานเหล็กรูปพรรณ
การวัดเนื้องาน ให้คิดคำนวณปริมาณงานตามที่แสดงไว้ในแบบ และคำนวณเนื้องานเป้นน้ำหนัก(กก. หรือ ตัน) การเผื่อเศษเสียหายให้เพิ่มปริมาณเผื่อได้ 10% กรณีเป็นเหล็กแผ่นซึ่งตัดเป็นรูปต่างๆ ให้เผื่อได้ 20%
ที่มา : หน้า55 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
1)มาตรฐานการวัด (Measurement)
1.1)ถ้ามิได้ระบุไว้เป็นอย่างอื่น การวัดปริมาณงานต่างๆต้องเป็นไปตามข้อกพหนดในข้อ(ก) (ข) (ค) และ (ง) ดังนี้่
(ก)ขนาดของความยาวจะต้องวัดให้ใกล้เคียงถึง 0.10 เมตร ยกเว้นสำหรับความหนาของแผ่นพื้นที่ ซึ่งต้องวัดให้ใกล้เคียงถึง 0.005 เมตร ( 0.5 เซนติเมตร )
(ข)ขนาดของพื้นที่ ต้องวัดให้ใกล้เคียงถึง 0.01 ตารางเมตร
(ค)ขนาดของปริมาตร ต้องวัดให้ใกล้เคียงถึง 0.01 ลูกบาศ์กเมตร
(ง)ขนาดของน้ำหนัก ต้องวัดให้ใกล้เคียงถึง 1 กิโลกรัม
1.2)การวัเปริมาณงาน ต้องวัดปริมาณผลงานจริงที่ปรากฏในตำแหน่งนั้น (Fixed in Position)
1.3)ในกรณีที่มาตรฐานระบุถึงพื้นที่ช่องเปิดน้อยสุด ซึ่งจะทำการหักออกจากปริมาณงานทั้งหมดนั้น ช่องเปิดที่กล่าวถึงนี้หมายความถึงช่องเปิดซึ่งอยู่ภายในเส้นขอบเขตของพื้นที่ที่ทำการวัดนั้น จะต้องหักออกจากปริมาณงานทั้งหมดเสมอ
2)งานบ่อพักท่อระบายน้ำ
กรณีที่มีท่อระบายน้ำขนาดไม่เกินกว่า เส้นผ่านศูนย์ลกาง 0.30 เมตร ต่อเข้าบ่อพัก ไม่ต้องหักพื้นที่ท่อระบายน้ำออก สำหรับท่อระบายน้ำขนาดใหญ่กว่า เส้นผ่านศูนย์ลกาง 0.30 เมตร ให้หักพื้นที่ท่อระบายน้ำออกด้วย
3)งานดิน
3.1)ปริมาณงานขุดดิน ให้วัดเป็นลูกบาศ์กเมตรของดิน และคิดคำนวณเนื้องานเท่ากับขนาดความยาวและความกว้างของผิวโครงสร้าง โดยเผื่อพื้นที่กันดินพังและเผื่อการทำงานห่างจากขอบนอกสุดของงานโครงสร้าง 0.50 เมตร
3.2)ปริมาณงานดินถมกลับ ให้ใช้ปริมาตรดินเดิมของหลุมที่ขุดลบด้วยปริมาตรของรูปโครงสร้าง
4)งานคอนกรีต
ให้คิดเป็นลูกบาศ์กเมตร ในการวัดเนื้องานคอนกรีต ให้คำนวณปริมาณเป็นลูกบาศ์กเมตรที่หักเนื้อ คอนกรีตบริเวณจุดต่อที่มีปริมาณซ้ำกันออก
5)งานแบบหล่อคอนกรีต (งานไม้แบบ แบบเหล็ก รวมทั้งแบบโลหะอื่นๆ)
ให้คิดคำนวณปริมาณงานเป็นตารางเมตร การวัดเนื้องานใหเ้คำนวณจากพื้นที่ผิวคอนกรีตของโครงสร้างแต่ละประเภทที่ต้องมีแบบหล่อคอนกรีตรองรับในขณะหล่อคอนกรีต (การค้ำยัน การยึด การเจาะรูเสียบเหล็ก และอุปกรณ์อื่นๆ ที่จำเป็น ในการทำงานให้ถูกต้องตามวิธีการ ให้รวมอยู่ในราคาต่อหน่วย)
6)งานเหล็กเสริมในคอนกรีต
การวัดเนื้องานให้คิดคำนวณตามแบบก่อสร้างที่แสดงไว้ โดยวัดปริมาณเป็นน้ำหนักและมีหน่วยเป็นกิโลกรัมหรือตัน การเผื่อเศษเสียหายให้เพิ่มปริมาณเผื่อได้ 10%
การวัดความยาวของเหล็กเสริม
ความยาวเหล็กปลอกหรือเหล็กรัดรอบที่คล้ายเหล็กปลอกให้วัดระยะจริงตามแบบ
จำนวนเหล็กปลอกให้หาเฉลี่ยจากระยะที่แสดงในแบบ เศษให้ปัดเป็น 1
ความยาวและจำนวนเหล็กเสิรมพิเศษ ให้คิดคำนวณตามที่แสดงในแบบ
ความยาวและจำนวนเหล็กเสิรมหลัก ให้คิดจำนวนตามแบบ เศษปัดเป็น 1 ส่วนความยาวให้คิดตามรูปที่กำหนดในแบบ
ระยะงอ ระยะทาบ หากไม่ระบุในแบบ ให้ใช้ตามมาตรฐาน วสท.
7)งานเหล็กรูปพรรณ
การวัดเนื้องาน ให้คิดคำนวณปริมาณงานตามที่แสดงไว้ในแบบ และคำนวณเนื้องานเป้นน้ำหนัก(กก. หรือ ตัน) การเผื่อเศษเสียหายให้เพิ่มปริมาณเผื่อได้ 10% กรณีเป็นเหล็กแผ่นซึ่งตัดเป็นรูปต่างๆ ให้เผื่อได้ 20%
ที่มา : หน้า55 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
39 บัญชีแสดงรายการก่อสร้าง สำหรับงานก่อสร้างทาง สะพาน และท่อเหลี่ยม
บัญชีแสดงรายการก่อสร้างสำหรับงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม เป็นบัญชีที่รวบรวมรายการงานก่อสร้างต่างๆ ที่งานก่อสร้างทาง สะพานและท่อเหลี่ยม โดยทั่วไปควรจะมี ไว้เพื่อใช้เป็นแม่แบบและแนวทางประกอบการพิจารณาถอดแบบก่อสร้าง ซึ่งได้กำหนดและรวมรายการงานก่อสร้างต่างๆที่งานก่อสร้างทาง สะพานและท่อเหลี่ยมโดยทั่วไปควรจะมี ไว้เป็นกลุ่มงาน รวม 7 กลุ่มงาน ดังนี้
1)งานรื้อโครงสร้างถนนเดิม(Removal of Existing Structures)
2)งานดิน(Earth Work)
3)งานรองพื้นทางและพื้นทาง(Subbase and Base Courses)
4)งานผิวทาง(Surface Courses)
5)งานโครงสร้าง(Structures)
6)งานเบ็ดเตล็ด(Miscellaneous)
7)งานจัดการเครื่องหมายจราจรระหว่างการก่อสร้าง(Traffic Management during Construction)
เนื่องจากบัญชีแสดงรายการก่อสร้างงานทาง สะพานและท่อเหลี่ยม ดังกล่าว เป็นบัญชีที่รวมรวมรายการงานก่อสร้างต่างๆ ที่งานก่อสร้างทาง สะพานและท่อเหลี่ยม โดยทั่วไปควรจะมี ซึ่งเมื่อนำไปใช้ประกอบการถอดแบบก่อสร้างสำหรับในบางงาน/โครงการ อาจมีรายการไม่ตรงหรือมีรายการที่นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในบัญชีแสดงรายการก่อสร้างนี้ก็เป็นได้ ดังนั้น จึงมีข้อกำหนดให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางใช้เป็นแนวทางประกอบการพิจารณาถอดแบบก่อสร้างจากแบบก่อสร้าง และสามารถปรับปรุง ลด เปลี่ยนแปลง แก้ไข และหรือเพิ่มเติมรายการงานก่อสร้างได้ตามความเหมาะสม สอดคล้อง และเป็นไปตามข้อมูลข้อเท็จจริงสำหรับโครงการ/งานที่ถอดแบบคำนวณราคากลางงานก่อสร้างนั้น
ตัวอย่าง บัญชีแสดงรายการก่อสร้าง สำหรับงานก่อสร้างทาง สะพาน และท่อเหลี่ยม
ที่มา : หน้า 36 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
1)งานรื้อโครงสร้างถนนเดิม(Removal of Existing Structures)
2)งานดิน(Earth Work)
3)งานรองพื้นทางและพื้นทาง(Subbase and Base Courses)
4)งานผิวทาง(Surface Courses)
5)งานโครงสร้าง(Structures)
6)งานเบ็ดเตล็ด(Miscellaneous)
7)งานจัดการเครื่องหมายจราจรระหว่างการก่อสร้าง(Traffic Management during Construction)
เนื่องจากบัญชีแสดงรายการก่อสร้างงานทาง สะพานและท่อเหลี่ยม ดังกล่าว เป็นบัญชีที่รวมรวมรายการงานก่อสร้างต่างๆ ที่งานก่อสร้างทาง สะพานและท่อเหลี่ยม โดยทั่วไปควรจะมี ซึ่งเมื่อนำไปใช้ประกอบการถอดแบบก่อสร้างสำหรับในบางงาน/โครงการ อาจมีรายการไม่ตรงหรือมีรายการที่นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในบัญชีแสดงรายการก่อสร้างนี้ก็เป็นได้ ดังนั้น จึงมีข้อกำหนดให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางใช้เป็นแนวทางประกอบการพิจารณาถอดแบบก่อสร้างจากแบบก่อสร้าง และสามารถปรับปรุง ลด เปลี่ยนแปลง แก้ไข และหรือเพิ่มเติมรายการงานก่อสร้างได้ตามความเหมาะสม สอดคล้อง และเป็นไปตามข้อมูลข้อเท็จจริงสำหรับโครงการ/งานที่ถอดแบบคำนวณราคากลางงานก่อสร้างนั้น
ตัวอย่าง บัญชีแสดงรายการก่อสร้าง สำหรับงานก่อสร้างทาง สะพาน และท่อเหลี่ยม
ที่มา : หน้า 36 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
38 การคิดต้นทุนค่างานไม้แบบสำหรับการก่อสร้าง งานทาง สะพานและท่อเหลี่ยม
การคิดต้นทุนค่างานไม้แบบสำหรับการก่อสร้าง งานทาง สะพานและท่อเหลี่ยม แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ
1)งานไม้แบบสำหรับงานทั่วไป
คิดปริมาณงานไม้แบบเฉลี่ยที่ใช้ต่อปริมาณงานพื้นที่ไม้แบบต่อ 1 ตารางเมตร จากนั้นจึงคำนวณค่าวัสดุไม้แบบที่ใช้ต่อพื้นที่ไม้แบบ 1 ตารางเมตร รวมด้วยค่าแรงประกอบ-ติดตั้ง-รื้อไม้แบบ และ ค่าน้ำมันทาผิวแบบ
ปริมาตรและจำนวนของวัสดุไม้แบบประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆดังนี้
ไม้กระบากหรือไม้ยาง(ลบ.ฟ.) , ไม้คร่าว(ลบ.ฟ.) , ไม้ค้ำยันไม้แบบ ขนาด ศก.4" x 4.00ม.(ต้น) , ตะปู(กก.)
มีสมมติฐานใช้งานประมาณ 4 ครั้ง จึงนำปริมาตรและจำนวนวัสดุทำไม้แบบนี้ หารด้วย 4 จะเป็นปริมาตรและจำนวนวัสดุไม้แบบต่อ 1 ตารางเมตร
ต้นทุนค่าไม้แบบ(บาท/ตร.ม.) = ค่าวัสดุทำไม้แบบ(บาท/ตร.ม.) + ค่าแรงประกอบ-ติดตั้ง-รื้อ (บาท/ตร.ม.) + ค่าน้ำมันทาแบบ(บาท/ตร.ม.)
2)งานไม้แบบสำหรับงานอย่างง่าย
รายละเอียดคิดแบบ1) โดยมีสมมติฐานว่าใช้งาได้ประมาณ 5 ครั้ง
3)งานไม้แบบสำหรับงานสะพานและท่อเหลี่ยม
คิดแบบประเภท1)โดยเปลี่ยนรายการวัสดุงานไม้แบบเป็น ไม้กระบากหรือไม้ยาง(ลบ.ฟ.) , ไม้อัดยางหนา 4 มม. , ไม้คร่าว 0.30 ลบ.ฟ. , ตะปู 0.25 กก. โดยมีสมมติฐานว่าใช้งานประมาณ 3ครั้ง
ตัวอย่าง ในทางปฏิบัติ
1)คำนวณปริมาณงานไม้แบบ และ คอนกรีตสำหรับชิ้นงาน นั้น
2)คำนวณค่างานประกอบ-ติดตั้ง-รื้อแบบหล่อทั้งหมด โดยใช้ค่าประกอบแบบต่อตร.ม.จากบัญชีค่าแรงของกรมบัญชีกลาง คุณกับพื้นที่แบบหล่อจากข้อ1)
3)คำนวณค่าวัสดุไม้แบบทั้งหมด = พื้นที่แบบหล่อทั้งหมด x สถิติการใช้ปริมาตรไม้แบบต่อตร.ม.ของพื้นที่ผิวแบบหล่อ x ราคาไม้แบบต่อลบ.ม. หารด้วยจำนวนครั้งที่ใช้แบบหล่อนั้น เช่น 2 ครั้ง
ราคาไม้แบบต่อลบ.ม. นำมาจากค่าเฉลี่ยของราคาไม้ยาง 1.5"x3"x4ม. และไม้กระบาก1"x6"-8"x4ม.
4)ค่างานไม้แบบทั้งหมด =2)+3)
ทั้งนี้หากวัสดุแบบหล่อเป็นวัสดุอื่นที่ไม่ใช่ไม้ตามรายการข้างต้น สามารถทำการดัดแปลงได้ เช่น แบบหล่อวัสดุเหล็ก
ที่มา : หน้า 24 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
1)งานไม้แบบสำหรับงานทั่วไป
คิดปริมาณงานไม้แบบเฉลี่ยที่ใช้ต่อปริมาณงานพื้นที่ไม้แบบต่อ 1 ตารางเมตร จากนั้นจึงคำนวณค่าวัสดุไม้แบบที่ใช้ต่อพื้นที่ไม้แบบ 1 ตารางเมตร รวมด้วยค่าแรงประกอบ-ติดตั้ง-รื้อไม้แบบ และ ค่าน้ำมันทาผิวแบบ
ปริมาตรและจำนวนของวัสดุไม้แบบประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆดังนี้
ไม้กระบากหรือไม้ยาง(ลบ.ฟ.) , ไม้คร่าว(ลบ.ฟ.) , ไม้ค้ำยันไม้แบบ ขนาด ศก.4" x 4.00ม.(ต้น) , ตะปู(กก.)
มีสมมติฐานใช้งานประมาณ 4 ครั้ง จึงนำปริมาตรและจำนวนวัสดุทำไม้แบบนี้ หารด้วย 4 จะเป็นปริมาตรและจำนวนวัสดุไม้แบบต่อ 1 ตารางเมตร
ต้นทุนค่าไม้แบบ(บาท/ตร.ม.) = ค่าวัสดุทำไม้แบบ(บาท/ตร.ม.) + ค่าแรงประกอบ-ติดตั้ง-รื้อ (บาท/ตร.ม.) + ค่าน้ำมันทาแบบ(บาท/ตร.ม.)
2)งานไม้แบบสำหรับงานอย่างง่าย
รายละเอียดคิดแบบ1) โดยมีสมมติฐานว่าใช้งาได้ประมาณ 5 ครั้ง
3)งานไม้แบบสำหรับงานสะพานและท่อเหลี่ยม
คิดแบบประเภท1)โดยเปลี่ยนรายการวัสดุงานไม้แบบเป็น ไม้กระบากหรือไม้ยาง(ลบ.ฟ.) , ไม้อัดยางหนา 4 มม. , ไม้คร่าว 0.30 ลบ.ฟ. , ตะปู 0.25 กก. โดยมีสมมติฐานว่าใช้งานประมาณ 3ครั้ง
ตัวอย่าง ในทางปฏิบัติ
1)คำนวณปริมาณงานไม้แบบ และ คอนกรีตสำหรับชิ้นงาน นั้น
2)คำนวณค่างานประกอบ-ติดตั้ง-รื้อแบบหล่อทั้งหมด โดยใช้ค่าประกอบแบบต่อตร.ม.จากบัญชีค่าแรงของกรมบัญชีกลาง คุณกับพื้นที่แบบหล่อจากข้อ1)
3)คำนวณค่าวัสดุไม้แบบทั้งหมด = พื้นที่แบบหล่อทั้งหมด x สถิติการใช้ปริมาตรไม้แบบต่อตร.ม.ของพื้นที่ผิวแบบหล่อ x ราคาไม้แบบต่อลบ.ม. หารด้วยจำนวนครั้งที่ใช้แบบหล่อนั้น เช่น 2 ครั้ง
ราคาไม้แบบต่อลบ.ม. นำมาจากค่าเฉลี่ยของราคาไม้ยาง 1.5"x3"x4ม. และไม้กระบาก1"x6"-8"x4ม.
4)ค่างานไม้แบบทั้งหมด =2)+3)
ทั้งนี้หากวัสดุแบบหล่อเป็นวัสดุอื่นที่ไม่ใช่ไม้ตามรายการข้างต้น สามารถทำการดัดแปลงได้ เช่น แบบหล่อวัสดุเหล็ก
ที่มา : หน้า 24 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้าง ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
37 : อัตราราคางานปลูกหญ้า
อัตราราคางานปลูกหญ้าเป็นอัตราค่าใช้จ่ายต่อหน่วยในงานปลูกหญ้า ซึ่งเป็นข้อมูลหรือรายละเอียดประกอบการคำนวณในส่วนของค่างานต้นทุนต่อหน่วยที่เกี่ยวข้องกับงานปลูกหญ้าในงานก่อสร้างชลประทาน
อัตราราคางานปลูกหญ้าในงานก่อสร้างชลประทาน ให้ใช้อัตราตามตารางดังต่อไปนี้
ตารางตัวอย่าง..........
ที่มา : หน้า 251 หลักเกณฑ์การคำนวรราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
อัตราราคางานปลูกหญ้าในงานก่อสร้างชลประทาน ให้ใช้อัตราตามตารางดังต่อไปนี้
ตารางตัวอย่าง..........
ที่มา : หน้า 251 หลักเกณฑ์การคำนวรราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
36 ตารางคำนวณอัตราราคางานบาน ฝาท่อ และเครื่องยก
ตารางคำนวณอัตราราคางานบาน ฝาท่อ และเครื่องยก เป็นข้อมูลหรือรายละเอียดประกอบสำหรับการคำนวณในส่วนของการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยที่เกี่ยวข้องกับงานบาน ฝาบ่อ และหรือเครื่องยก โดย กำหนดน้ำหนักต่อชิ้นงานตามแบบมาตรฐานไว้ จากนั้นผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางจะเป็นผู้จัดหาราคาต่อหน่วยน้ำหนัก ของแต่ละชิ้นงานตามแบบมาตรฐาน เพื่อคูณกันเป็นราคาต่อชิ้นงานตามแบบมาตรฐาน นอกจากนี้ยังมีค่าวัสดุช่วยในการประกอบ/จัดทำ = 35% ของราคาวัสดุมวลรวม , ค่าจัดทำ = 30% ของราคาวัสดุมวลรวม , ค่าขนส่งและติดตั้งบานฝาท่อ = 25%ขึ้นไป ของราคาวัสดุมวลรวม
ทั้งนี้ราคาวัสดุ ให้ใช้ราคาจากสำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ หรือสำนักงานพาณิชย์จังหวัด ที่สถานที่ก่อสร้างตั้งอยู่ หากไม่มีกำหนดราคาไว้ให้สืบจากแหล่งโดยตรง
หมวดหลักของงานบาน ฝาท่อ และเครื่องยก มีดังนี้
ก)บานฝาท่อชนิดรับน้ำทางเดียว กรอบกลม
ข)บานฝาท่อชนิดรับน้ำทางเดียว กรอบสี่เหลี่ยม
ค)บานฝาท่อชนิดรับน้ำสองทาง กรอบกลม
ง)บานฝาท่อชนิดรับน้ำสองทาง กรอบสี่เหลี่ยม
จ)เครื่องยกพร้อมเพลา
ตารางตัวอย่าง ...........
ที่มา : หน้า 234 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
ทั้งนี้ราคาวัสดุ ให้ใช้ราคาจากสำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ หรือสำนักงานพาณิชย์จังหวัด ที่สถานที่ก่อสร้างตั้งอยู่ หากไม่มีกำหนดราคาไว้ให้สืบจากแหล่งโดยตรง
หมวดหลักของงานบาน ฝาท่อ และเครื่องยก มีดังนี้
ก)บานฝาท่อชนิดรับน้ำทางเดียว กรอบกลม
ข)บานฝาท่อชนิดรับน้ำทางเดียว กรอบสี่เหลี่ยม
ค)บานฝาท่อชนิดรับน้ำสองทาง กรอบกลม
ง)บานฝาท่อชนิดรับน้ำสองทาง กรอบสี่เหลี่ยม
จ)เครื่องยกพร้อมเพลา
ตารางตัวอย่าง ...........
ที่มา : หน้า 234 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
35 ตารางค่าดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรเบางานก่อสร้างชลประทาน
ค่าดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรเบาเป็นค่างานซึ่งใช้เป็นข้อมูลหรือรายละเอียดประกอบการคำนวณในสว่นของการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยที่เกี่ยวข้องกับงานดินถมด้วยเครื่องจักรเบา โดยให้มีการสำรวจรวบรวมช้อมูล คำนวณรวม และจัดทำไว้เป็นตารางสำเร็จรูป เรียกว่า ตารางค่าดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรเบางานก่อสร้างชลประทาน ตามระดับราคาน้ำมันเบนซิน ดงันั้น ในวันที่คำนวณราคากลางงานก่อสร้างนั้น ราคาน้ำมันเบนซินที่ใช้ ที่อำเภอเมืองของจังหวัดที่สถานที่ก่อสร้างตั้งอยู่เท่าไร ก็ให้ใช้ค่าดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรกลเบาสำหรับราคาน้ำมันเบนซินที่สอดคล้องกันนั้น
แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ตารางค่าดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรกลเบางานก่อสร้างชลประทานดงักล่าวมีความเป็นปัจจุบันที่สอดคล้องตามระดับราคาน้ำมันและสภาวะการณ์ทางด้านเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปในอนาคต กระทรวงการคลัง(กรมบัญชีกลาง) จะได้ร่วมกับกรมชลประทานและหรือคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการปรับปรุงตารางค่าดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรเบางานก่อสร้างชลประทานให้สอดคล้องกับระดับราคาน้ำมันและสภาวะการณ์ทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป หากราคาน้ำมันเบนซินโดยทั่วไปมีราคาสูงเกินกว่า 69.99 บาท/ลิตร และแจ้งเวียนให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐทราบและถือปฏิบัติต่อไป
ทั้งนี้ ตารางค่าดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรเบางานก่อสร้างชลประทาน มีตัวอย่างดังนี้
ตาราง.............
ที่มา : หน้า 231 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ตารางค่าดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรกลเบางานก่อสร้างชลประทานดงักล่าวมีความเป็นปัจจุบันที่สอดคล้องตามระดับราคาน้ำมันและสภาวะการณ์ทางด้านเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปในอนาคต กระทรวงการคลัง(กรมบัญชีกลาง) จะได้ร่วมกับกรมชลประทานและหรือคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการปรับปรุงตารางค่าดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรเบางานก่อสร้างชลประทานให้สอดคล้องกับระดับราคาน้ำมันและสภาวะการณ์ทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป หากราคาน้ำมันเบนซินโดยทั่วไปมีราคาสูงเกินกว่า 69.99 บาท/ลิตร และแจ้งเวียนให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐทราบและถือปฏิบัติต่อไป
ทั้งนี้ ตารางค่าดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรเบางานก่อสร้างชลประทาน มีตัวอย่างดังนี้
ตาราง.............
ที่มา : หน้า 231 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
34 ข้อมูลส่วนขยายตัว ,ส่วนยุบตัว และส่วนสูญเสีย เมื่อบดทับ
ข้อมูลส่วนขยายตัว ,ส่วนยุบตัว และส่วนสูญเสีย เมื่อบดทับ (Bank Volume and Compacted Factor) เป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์การเผื่อในการก่อสร้างชลประทาน ซึ่งต้องใช้ในการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยตามหลักเกณฑ์หรือสูตรการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยในบางรายการงานก่อสร้าง โดยผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางต้องใช้ข้อมูลตามที่กำหนด ดังตารางต่อไปนี้
ตาราง...............
ที่มา : หน้า 230 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
ตาราง...............
ที่มา : หน้า 230 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
33 ตารางคำนวณอัตรางานคอนกรีตและหิน งานก่อสร้างชลประทาน
อัตราราคางานคอนกรีตและหินเป็นข้อมูลหรือรายละเอียดประกอบสำหรับการคำนวณในส่วนของการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยที่เกี่ยวข้องกับงานคอนกรีตและหินต่างๆ โดยกำหนดให้คำนวณอัตราตามตารางคำนวณอัตราราคางานคอนกรีตและหิน
รายการราคางานซึ่งคำนวณได้มีดังต่อไปนี้
1)คอนกรีตดาด
2)คอนกรีตหยาบ
3)Dental Concrete
4)หินเรียง
5)หินเรียงยาแนว
6)หินก่อ
7)หินทิ้ง
ตารางคำนวณอัตราราคางานคอนกรีตและหิน งานก่อสร้างชลประทาน
หมายเหตุ
1)ราคาหิน กรวด ทราย ให้ใช้ราคาที่แหล่งวัสดุจากสำนักดัชนีเศรษฐิกจการค้า กระทรวงพาณิชย์ หรือสำนักงานพาณิชย์ของจังหวัดที่มีแหล่งวัสดุอยู่ซึ่งใกล้สถานที่ก่อสร้าง หากสำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้าหรือสำนักงานพาณิชย์จังหวัด ไม่ได้กำหนดราคาวัสดุที่แหล่งไว้ ให้สืบราคาจากแหล่งโดยตรง การคิดคำนวณค่าขนส่งให้คิดระยะทางจากแหล่งถึงสถานที่ก่อสร้าง
2)ราคาปูนซีเมนต์ให้ใช้ราคาในจังหวัดจากสำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์หรือสำนักงานพาณิชย์จังหวัด แล้วแต่กรณี การคิดคำนวณค่าขนส่งให้คำนวณระยะทางจากจังหวัดถึงสถานที่ก่อสร้าง
3)ราคาวัสดุหลักไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
4)ราคาวัสดุใช้ทศนิยม 2 ตำแหน่ง (ไม่ปัด) และผลรวมอัตราราคางานแต่ละรายการตัดทิศนิยมทิ้ง(ไม่ปัด)
5)ใช้อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ 149.36 บาท/วัน
6)ค่าเทคอนกรีตของงานคอนกรีตดาด ไม่รวมค่าแต่งผิวหน้าคอนกรีตดาด
7)ค่าแรงงานทั่วไปของ Dental Concrete เป็นค่าแรงสำหรับทำความสะอาดพื้นผิวร่องแกนรอยแตกหรือช่องว่างต่างๆ ให้สะอาดโดยการขุดและขนย้ายวัสดุอ่อน (Soft and Unstable Material) ออกให้หมด
8)ความสามารถรับแรงกดของคอนกรีตโครงสร้าง ทดสอบโดยแท่งคอนกรีตมาตรฐานรูปทรงกระบอก เมื่อายุได้ 28วัน
ที่มา : หน้า 228 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
รายการราคางานซึ่งคำนวณได้มีดังต่อไปนี้
1)คอนกรีตดาด
2)คอนกรีตหยาบ
3)Dental Concrete
4)หินเรียง
5)หินเรียงยาแนว
6)หินก่อ
7)หินทิ้ง
ตารางคำนวณอัตราราคางานคอนกรีตและหิน งานก่อสร้างชลประทาน
หมายเหตุ
1)ราคาหิน กรวด ทราย ให้ใช้ราคาที่แหล่งวัสดุจากสำนักดัชนีเศรษฐิกจการค้า กระทรวงพาณิชย์ หรือสำนักงานพาณิชย์ของจังหวัดที่มีแหล่งวัสดุอยู่ซึ่งใกล้สถานที่ก่อสร้าง หากสำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้าหรือสำนักงานพาณิชย์จังหวัด ไม่ได้กำหนดราคาวัสดุที่แหล่งไว้ ให้สืบราคาจากแหล่งโดยตรง การคิดคำนวณค่าขนส่งให้คิดระยะทางจากแหล่งถึงสถานที่ก่อสร้าง
2)ราคาปูนซีเมนต์ให้ใช้ราคาในจังหวัดจากสำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์หรือสำนักงานพาณิชย์จังหวัด แล้วแต่กรณี การคิดคำนวณค่าขนส่งให้คำนวณระยะทางจากจังหวัดถึงสถานที่ก่อสร้าง
3)ราคาวัสดุหลักไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
4)ราคาวัสดุใช้ทศนิยม 2 ตำแหน่ง (ไม่ปัด) และผลรวมอัตราราคางานแต่ละรายการตัดทิศนิยมทิ้ง(ไม่ปัด)
5)ใช้อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ 149.36 บาท/วัน
6)ค่าเทคอนกรีตของงานคอนกรีตดาด ไม่รวมค่าแต่งผิวหน้าคอนกรีตดาด
7)ค่าแรงงานทั่วไปของ Dental Concrete เป็นค่าแรงสำหรับทำความสะอาดพื้นผิวร่องแกนรอยแตกหรือช่องว่างต่างๆ ให้สะอาดโดยการขุดและขนย้ายวัสดุอ่อน (Soft and Unstable Material) ออกให้หมด
8)ความสามารถรับแรงกดของคอนกรีตโครงสร้าง ทดสอบโดยแท่งคอนกรีตมาตรฐานรูปทรงกระบอก เมื่อายุได้ 28วัน
ที่มา : หน้า 228 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
32 ตารางอัตราราคางานปรับปรุงฐานรากและงานระเบิดหิน
ตารางอัตราราคางานปรับปรุงฐานรากและงานระเบิดหินเป็นข้อมูลหรือรายละเอียดประกอบการคำนวณในส่วนของการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยที่เกี่ยวข้องกับงานฐานรากและงานระเบิดหินในงานก่อสรา้งชลประทาน โดยได้มีการสำรวจ รวบรวมช้อมูล คำนวณรวม และจัดทำไว้เป้นตารางสำเร็จรูป เรียกว่า ตารางอัตราราคางานปรับปรุงฐานรากและงานระเบิดหิน ซึ่งแต่ละตารางจะผันแปรไปตามระดับราคาน้ำมันเชื้อเพลิงโซล่า(ดีเซล) ดังนั้น ในวันที่คำนวณราคากลางงานก่อสร้างนั้น ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงโซล่า(ดีเซล) ที่อำเภอเมืองของจังหวัดที่สถานที่ก่อสร้างนั้นตั้งอยู่เท่าไร ก็ให้ใช้ตารางที่สอดคล้องกับระดับราคาน้ำมันเชื้อเพลิงโซล่า(ดีเซล) นั้น
ตารางอัตราราคางานปรับปรุงฐานรากและงานระเบิดหิน ระบุรายการงานไว้ 12 รายการคือ
1)งานฝังท่อกรุเพื่อการเจาะและอัดฉีดของผสม(Grout Pipe Installation)
2)งานเจาะ Consolidation Grout Hole และ ฺBlanket Grout Hole
3)งานเจาะ Curtain Grout Hole
4)งานเจาะปูนซ้ำ (Redrilling Grout Hole)
5)งานทดสอบการรั่วซึมของน้ำแบบลูยอง (Lugeon Test)
6)งานทดลองอัดฉีดน้ำก่อนการอัดฉีดของผสม
7)งานดำเนินการอัดฉีดของผสม (Pressure Grouting)
8)วัสดุสำหรับการอัดฉีด (Grouting Material)
9)งานเจาะเก็บตัวอย่างแกนหิน (Drilling check hole and Pilot hole)
10)งานระเบิดหิน
11)งานอัดฉีดของผสมแรงดันสูง (Cement Jet Grouting)
12)งาน SLUSH GROUTNING
แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ตารางอัตราราคางานดินสำหรับการก่อสร้างงานชลประทานมมีความเป็น ปัจจุบันที่สอดคล้องตามระดับราคาน้ำมันและสภาวการร์ด้านเศรษฐกิจที่เปลี่ยน แปลงไปในอนาคต ได้มีข้อกำหนดให้กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) ร่วมกันกับกรมชลประทาน และหรือคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการปรับปรุงตารางอัตราราคางานปรับปรุงฐานรากและงานระเบิดหินสำหรับงานก่อสร้างชลประทานให้สอด คล้องตามระดับราคาน้ำมันและสภาวการณ์ทางด้านเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และแจ้งเวียนให้ส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่้นของรัฐทราบและถือปฏิบัติต่อไป
ตัวอย่างตารางอัตราราคางานปรับปรุงฐานรากและงานระเบิดหิน
ที่มา : หน้า 137 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
ตารางอัตราราคางานปรับปรุงฐานรากและงานระเบิดหิน ระบุรายการงานไว้ 12 รายการคือ
1)งานฝังท่อกรุเพื่อการเจาะและอัดฉีดของผสม(Grout Pipe Installation)
2)งานเจาะ Consolidation Grout Hole และ ฺBlanket Grout Hole
3)งานเจาะ Curtain Grout Hole
4)งานเจาะปูนซ้ำ (Redrilling Grout Hole)
5)งานทดสอบการรั่วซึมของน้ำแบบลูยอง (Lugeon Test)
6)งานทดลองอัดฉีดน้ำก่อนการอัดฉีดของผสม
7)งานดำเนินการอัดฉีดของผสม (Pressure Grouting)
8)วัสดุสำหรับการอัดฉีด (Grouting Material)
9)งานเจาะเก็บตัวอย่างแกนหิน (Drilling check hole and Pilot hole)
10)งานระเบิดหิน
11)งานอัดฉีดของผสมแรงดันสูง (Cement Jet Grouting)
12)งาน SLUSH GROUTNING
แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ตารางอัตราราคางานดินสำหรับการก่อสร้างงานชลประทานมมีความเป็น ปัจจุบันที่สอดคล้องตามระดับราคาน้ำมันและสภาวการร์ด้านเศรษฐกิจที่เปลี่ยน แปลงไปในอนาคต ได้มีข้อกำหนดให้กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) ร่วมกันกับกรมชลประทาน และหรือคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการปรับปรุงตารางอัตราราคางานปรับปรุงฐานรากและงานระเบิดหินสำหรับงานก่อสร้างชลประทานให้สอด คล้องตามระดับราคาน้ำมันและสภาวการณ์ทางด้านเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และแจ้งเวียนให้ส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่้นของรัฐทราบและถือปฏิบัติต่อไป
ตัวอย่างตารางอัตราราคางานปรับปรุงฐานรากและงานระเบิดหิน
ที่มา : หน้า 137 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
31 ตารางอัตราราคางานดิน (Operating Cost) งานก่อสร้างชลประทาน
อัตราราคางานดิน หรือค่า Operating Cost ในงานก่อสร้างชลประทาน ซึ่งเป็นข้อมูลหรือรายละเอียดประกอบการคำนวณ ในส่วนของการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยที่เกี่ยวข้องกับค่าดำเนินการและหรือค่าเสื่อมราคาของเครื่องจักรที่ใช้ในงานก่อสร้าง ในหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงาานก่อสร้างชลประทาน โดยได้มีการสำรวจ รวบรวมช้อมูล คำนวณรวม และจัดทำไว้เป็นตารางสำเร็จรูป เรียกว่าตารางอัตราราคางานดิน (Operating Cost) ประกอบด้วย ค่าใช้จ่าย(ค่าดำเนินการ) และค่าเสื่อมราคาของเครื่องจักรสำหรับรายการงานก่อสร้างต่างๆ โดยในส่วนของค่าเสื่อมราคา ได้จำแนกเป็นค่าเสื่อมราคากรณีฝนชุก ซึ่งใช้ในกรณีของงานก่อสร้างชลประทานที่มีข้อกำหนดให้ใช้ค่า Factor F จากตาราง Factor F งานก่อสร้างชลประทาน ที่ก่อสร้างในพื้นที่จังหวัดที่กำหนดให้อยู่ในพื้นที่ฝนชุก1 และฝนชุก2 ตามที่กำหนดตามหลักเกณฑ์การใช้ตาราง Factor F งานก่อสร้างชลประทาน และค่าเสื่อมราคากรณีปกติ ซึ่งใช้ในกรณ๊ของงานก่อสร้างชลประทานที่มีข้อกำหนดให้ใช้ค่า Factor F จากตาราง Factor F งานก่อสร้างชลประทาน ที่ก่อสร้างในพื้นที่จังหวัดอื่นซึ่งไม่อยู่ในพื้นที่ฝนตกชุก 1 และ ฝนตกชุก 2 ตามที่หลักเกณฑ์การใช้ตาราง Factor F งานก่อสร้างชลประทาน
อัตราราคางานดินสำหรับงานก่อสร้างชลประทานดังกล่าว ได้จัดทำไว้เป็นตาราง ซึ่งผันแปรไปตามระดับราคาน้ำมันเชื้อเพลิงโซล่า(ดีเซล) ดังนั้นในวันที่คำนวณราคากลางงานก่อสร้างนั้น ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงโซล่า(ดีเซล) ที่อำเภอเมืองของจังหวัดที่สถานที่ก่อสร้างตั้งอยู่เท่าไร ก็ให้ใช้ตารางที่สอดคล้องกับระดับราคาน้ำมันเชื้อเพลิงโซล่า(ดีเซล)นั้น
ตารางอัตราราคางานดินงานชลประทาน ได้ระบุรายการงานไว้ 13 รายการคือ
1)งานถางป่า
2)งานลูกรังบดอัดแ่น วัสดุคัดเลือก
3)งานพื้นทาง(หินคลุก)
4)ค่าขุดเปิดหน้าดิน
5)ค่าขุดดินด้วยเครื่องจักร
6)ค่าตักดิน
7)งานขุดดินยาก
8)งานขุดลอก
9)ค่ากำจัดวัชพืชด้วยเรือ
10)งานระเบิดหิน
11)งานบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร (งานทั่วไป)
12)งานบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร (งานเขื่อน)
13)ค่าสูบน้ำระหว่างก่อสร้าง
แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ตารางอัตราราคางานดินสำหรับการก่อสร้างงานชลประทานมมีความเป็นปัจจุบันที่สอดคล้องตามระดับราคาน้ำมันและสภาวการร์ด้านเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปในอนาคต ได้มีข้อกำหนดให้กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) ร่วมกันกับกรมชลประทาน และหรือคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการปรับปรุงตารางอัตราราคางานดินสำหรับงานก่อสร้างชลประทานให้สอดคล้องตามระดับราคาน้ำมันและสภาวการณ์ทางด้านเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และแจ้งเวียนให้ส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่้นของรัฐทราบและถือปฏิบัติต่อไป
ตัวอย่างตารางอัตราราคางานดิน
ที่มา : หน้า 91 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
อัตราราคางานดินสำหรับงานก่อสร้างชลประทานดังกล่าว ได้จัดทำไว้เป็นตาราง ซึ่งผันแปรไปตามระดับราคาน้ำมันเชื้อเพลิงโซล่า(ดีเซล) ดังนั้นในวันที่คำนวณราคากลางงานก่อสร้างนั้น ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงโซล่า(ดีเซล) ที่อำเภอเมืองของจังหวัดที่สถานที่ก่อสร้างตั้งอยู่เท่าไร ก็ให้ใช้ตารางที่สอดคล้องกับระดับราคาน้ำมันเชื้อเพลิงโซล่า(ดีเซล)นั้น
ตารางอัตราราคางานดินงานชลประทาน ได้ระบุรายการงานไว้ 13 รายการคือ
1)งานถางป่า
2)งานลูกรังบดอัดแ่น วัสดุคัดเลือก
3)งานพื้นทาง(หินคลุก)
4)ค่าขุดเปิดหน้าดิน
5)ค่าขุดดินด้วยเครื่องจักร
6)ค่าตักดิน
7)งานขุดดินยาก
8)งานขุดลอก
9)ค่ากำจัดวัชพืชด้วยเรือ
10)งานระเบิดหิน
11)งานบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร (งานทั่วไป)
12)งานบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร (งานเขื่อน)
13)ค่าสูบน้ำระหว่างก่อสร้าง
แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ตารางอัตราราคางานดินสำหรับการก่อสร้างงานชลประทานมมีความเป็นปัจจุบันที่สอดคล้องตามระดับราคาน้ำมันและสภาวการร์ด้านเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปในอนาคต ได้มีข้อกำหนดให้กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) ร่วมกันกับกรมชลประทาน และหรือคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการปรับปรุงตารางอัตราราคางานดินสำหรับงานก่อสร้างชลประทานให้สอดคล้องตามระดับราคาน้ำมันและสภาวการณ์ทางด้านเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป และแจ้งเวียนให้ส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่้นของรัฐทราบและถือปฏิบัติต่อไป
ตัวอย่างตารางอัตราราคางานดิน
ที่มา : หน้า 91 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
30 หลักเกณฑ์การประเมินราคาต้นทุนต่อหน่วยในงานก่อสร้างชลประทาน
เนื่องจากในทุกรายการงานก่อสร้างชลประทาน ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางจำเป็นต้องคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost) ในทุกรายการงานก่อสร้าง ดังนั้น ในหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทานฉบับนี้ จึงได้กำหนดและรวบรวมหลักเกณฑ์หรือสูตรการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยสำหรับรายการก่อสร้างต่างๆ ที่งานก่อสร้างชลประทานโดยทั่วไปควรจะมีไว้ เพื่อให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางได้นำไปใช้ตามความเหมาะสมและสอดคล้องตามข้อเท็จจริงสำหรับโครงการ/งานก่อสร้างชลประทานที่ถอดแบบคำนวณราคากลางนั้น
แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางสามารถนำหลักเกณฑ์และหรือสูตรการคำนวณหรือประเมินราคางานต้นทุนต่อหน่วยดังกล่าว ไปปรับใช้ได้อย่างคล่องตัวและสอดคล้องตามข้อมูลข้อ เท็จจริงสำหรับโครงการ/งานก่อสร้างที่ถอดแบบคำนวณราคากลางนั้น จึงได้มีหมายเหตุกำหนดแนวทางปฏิบัติในกรณีที่รายการงานก่อสร้างใดไม่มีหลักเกณฑ์หรือสูตรการประเมินหรือคำนวณราคางานต้นทุนต่อหน่วยกำหนดไว้ ให้ดำเนินการดังนี้
1)ให้กำหนดหลักเกณฑ์หรือนำหลักเกณฑ์หรือสูตรการประเมินราคางานต้นทุนต่อหน่วยของรายการที่เกี่ยวข้องมาปรับใช้ได้ตามความเหมาะสมและสอดคล้องตามข้อเท็จจริงตามแบบก่อสร้างสำหรับรายการงานก่อสร้างนั้นๆ
2)งานที่ต้องใช้เทคนิคพิเสษเฉพาะ เช่น งานเจาะอุโมงค์ เป็นต้น สามารุให้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านนั้นๆ กำหนดหลักเกณฑ์และหรือคำนวณราคาให้ก็ได้ โดยให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางจัดทำบันทึกแสดงรายละเอียดของการกำหนดหลักเกณฑ์และหรือคำนวณราคาดังกล่าวประกอบไว้ด้วย
3)รายการงานก่อสร้างทั่วไปิ่นๆที่มิได้กำหนดหลักเกณฑ์หรือสูตรการประเมินราคางานต้นทุนต่อหน่วยไว้ ในกรณีที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณราคและแหล่งวัสดุก่อสร้าง ค่าแรงงาน และหรือค่าขนส่งวัสดุก่อสร้าง ให้ใช้ตามข้อกำหนดเกี่ยวกับราคาและแหล่งวัสดุก่อสร้างในส่วนของแนวทางและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง บัญชีค่าแรงงาน/ดำเนินการสำหรับการถอดแบบคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง และหรือตารางและหลักเกณฑ์การคำนวณค่าขนส่งวัสดุก่อสร้าง แล้วแต่กรณี
4)ครุภัณฑ์ต่างๆ ตามหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน เป็นครุภัณฑืประเภทติดตั้งอยู่กับที่(Built-in) ในกรณีที่ต้องคำนวณค่าครุภัณฑ์ที่ไม่ติดตั้งอยู่กับที่ ให้นำหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคาร ในส่วนของการคำนวณค่าครุภัณฑ์จัดซื้อ มาปรับใช้
หลักเกณฑ์และหรือสูตรสำหรับการคำนวณหรือประเมินราคางานต้นทุนต่อหน่วยของรายการงานก่อสร้างต่างๆในงานก่อสร้างชลประทาน มีรายละเอียดที่ถูกจัดทำขึ้นไว้เป็นแนวทาง ตัวอย่างเช่น
งานราวกันตก
ค่าวัสดุรวมค่าขนส่งถึงสถานที่ก่อสร้าง = (1) บาท
ค่าติดตั้ง = (1) x 0.30 = (2) บาท
รวมทั้งสิ้น (1)+(2) = (3) บาท
ค่างานเฉลี่ย =(3)/ความยาวทั้งหมด = .......บาท/เมตร
หมายเหตุ
ค่าวัสดุ รวมค่าขนส่งถึงสถานที่ก่อสร้าง ใช้ราคาตามข้อกำหนดเกี่ยวกับราคาและแหล่งวัสดุก่อสร้างในส่วนของแนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง
ค่าติดตั้ง คิด 30% ของค่าวัสดุ
ค่างานเฉลี่ย คิดปริมาณงานทั้งหมดเฉลี่ยต่อเมตร
ที่มา : หน้า66 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางสามารถนำหลักเกณฑ์และหรือสูตรการคำนวณหรือประเมินราคางานต้นทุนต่อหน่วยดังกล่าว ไปปรับใช้ได้อย่างคล่องตัวและสอดคล้องตามข้อมูลข้อ เท็จจริงสำหรับโครงการ/งานก่อสร้างที่ถอดแบบคำนวณราคากลางนั้น จึงได้มีหมายเหตุกำหนดแนวทางปฏิบัติในกรณีที่รายการงานก่อสร้างใดไม่มีหลักเกณฑ์หรือสูตรการประเมินหรือคำนวณราคางานต้นทุนต่อหน่วยกำหนดไว้ ให้ดำเนินการดังนี้
1)ให้กำหนดหลักเกณฑ์หรือนำหลักเกณฑ์หรือสูตรการประเมินราคางานต้นทุนต่อหน่วยของรายการที่เกี่ยวข้องมาปรับใช้ได้ตามความเหมาะสมและสอดคล้องตามข้อเท็จจริงตามแบบก่อสร้างสำหรับรายการงานก่อสร้างนั้นๆ
2)งานที่ต้องใช้เทคนิคพิเสษเฉพาะ เช่น งานเจาะอุโมงค์ เป็นต้น สามารุให้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านนั้นๆ กำหนดหลักเกณฑ์และหรือคำนวณราคาให้ก็ได้ โดยให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางจัดทำบันทึกแสดงรายละเอียดของการกำหนดหลักเกณฑ์และหรือคำนวณราคาดังกล่าวประกอบไว้ด้วย
3)รายการงานก่อสร้างทั่วไปิ่นๆที่มิได้กำหนดหลักเกณฑ์หรือสูตรการประเมินราคางานต้นทุนต่อหน่วยไว้ ในกรณีที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณราคและแหล่งวัสดุก่อสร้าง ค่าแรงงาน และหรือค่าขนส่งวัสดุก่อสร้าง ให้ใช้ตามข้อกำหนดเกี่ยวกับราคาและแหล่งวัสดุก่อสร้างในส่วนของแนวทางและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง บัญชีค่าแรงงาน/ดำเนินการสำหรับการถอดแบบคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง และหรือตารางและหลักเกณฑ์การคำนวณค่าขนส่งวัสดุก่อสร้าง แล้วแต่กรณี
4)ครุภัณฑ์ต่างๆ ตามหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน เป็นครุภัณฑืประเภทติดตั้งอยู่กับที่(Built-in) ในกรณีที่ต้องคำนวณค่าครุภัณฑ์ที่ไม่ติดตั้งอยู่กับที่ ให้นำหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคาร ในส่วนของการคำนวณค่าครุภัณฑ์จัดซื้อ มาปรับใช้
หลักเกณฑ์และหรือสูตรสำหรับการคำนวณหรือประเมินราคางานต้นทุนต่อหน่วยของรายการงานก่อสร้างต่างๆในงานก่อสร้างชลประทาน มีรายละเอียดที่ถูกจัดทำขึ้นไว้เป็นแนวทาง ตัวอย่างเช่น
งานราวกันตก
ค่าวัสดุรวมค่าขนส่งถึงสถานที่ก่อสร้าง = (1) บาท
ค่าติดตั้ง = (1) x 0.30 = (2) บาท
รวมทั้งสิ้น (1)+(2) = (3) บาท
ค่างานเฉลี่ย =(3)/ความยาวทั้งหมด = .......บาท/เมตร
หมายเหตุ
ค่าวัสดุ รวมค่าขนส่งถึงสถานที่ก่อสร้าง ใช้ราคาตามข้อกำหนดเกี่ยวกับราคาและแหล่งวัสดุก่อสร้างในส่วนของแนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง
ค่าติดตั้ง คิด 30% ของค่าวัสดุ
ค่างานเฉลี่ย คิดปริมาณงานทั้งหมดเฉลี่ยต่อเมตร
ที่มา : หน้า66 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
29 หลักเกณฑ์การถอดแบบคำนวณปริมาณงาน งานก่อสร้างชลประทาน
หลักเกณฑ์การถอดแบบคำนวณปริมาณงาน งานก่อสร้างชลประทาน เป็นหลักเกณฑ์ แนวทาง และวิธีปฏิบัติ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการถอดแบบคำนวณปริมาณงาน สำหรับรายการงานก่อสร้างต่างๆ ในหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน
ในการถอดแบบคำนวณปริมาณงาน ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางจะต้องทราบขอบเขตงานก่อสร้างแต่ละรายการงานก่อสร้างอย่างชัดเจนโดยให้ถอดแบบคำนวณปริมาณงานจากแบบก่อสร้างที่จะใช้ก่อสร้างนั้น โดยไม่ต้องคิดเผื่อปริมาณงานและวัสดุ เนื่องจากหลักเกณฑ์การประเมินราคางานต้นทุนต่อหน่วยของรายการงานก่อสร้างต่างๆได้เผื่อปริมาณงานและวัสดุที่จะใช้ไว้ให้แล้ว
การถอดแบบคำนวณปริมาณงานต่างๆในงานก่อสร้างชลประทาน มีเหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังนี้
1)งานเตรียมพื้นที่
ได้แก่ งานถากถาง งานถากถางและล้มต้นไม้ หากไม่ระบุไว้เป็นอย่างอื่น ให้คิดคำนวณปริมาณงานเต็มพื้นที่งานก่อสร้าง ตามที่แสดงไว้ในแบบก่อสร้าง โดยมีหน่วยเป็น ตารางเมตร
2)งานขุดเปิดหน้าดิน
ในการก่อสร้างที่จำเป็นต้องขุดเปิดหน้าดินที่ไม่มีคุณภาพหรืออินทรีย์วัตถุออกไปเสียก่อน โดยทำการขุดเปิดหน้าดินให้มีความลึกตามที่กำหนดในแบบหรือใช้ความหนาประมาณ 0.30เมตร ให้พิจารณาตัดแบ่งช่วงงานออกเป็นช่วงๆ โดยแต่ละช่วงมีความกว้างที่จะขุดเปิดใกล้เคียงกัน แล้วคำนวณหาค่าเฉลี่ยตลอดความกว้างของแต่ละช่วง คูณด้วยความยาวของช่วงนั้นๆ จะได้พื้นที่ขุดเปิดหน้าดินในต่ละช่วง มีหน่วยเป็นตารางเมตร
จากนั้นนำพื้นที่ขุดเปิเดหน้าดินดังกล่าวมาคูณความลึกประมาณ 0.30เมตร หรือตามที่ระบุ หรือตามสภาพข้อเท็จจริงของพื้นที่นั้น จะได้ผลลัพธ์เป็น ปริมาตรงานขุดเปิดหน้าดิน มีหน่วยเป็นลูกบาศ์กเมตร
3)งานดินขุด
โดยปกติงานก่อสร้างคลองส่งน้ำจะมีระดับต่างๆและ Side Slopeกำหนดไว้แน่นอนในแบบก่อสร้าง ซึ่งสามารถคำนวณหาปริมาณงานดินขุดได้ โดยใช้สูตร
V = (A1 + 4A2 + A3) X L/6
เมื่อ
V = ปริมตรของดินขุดมีหน่วยเป็นลูกบาศ์กเมตร
A1 และ A3 = พื้นที่รูปตัดขวางของคลองที่จะขุด ตรงปลายทั้งสองของช่วงคลองที่ตัดแบ่ง มีหน่วยเป็น ตารางเมตร
A2 = พื้นที่รูปตัดขวาง ตรงกลางของช่วงคลอง มีหน่วยเป็ย ตารางเมตร
L = ความยาวของช่วงคลองที่ตัดแบ่ง มีหน่วยเป็น เมตร
อนึ่ง สำหรับวิธีการหาพื้นที่รูปตัดขวางของคลอง ถ้ารูปร่างของรูปตัดขวางซับซ้อนไม่เป็นรูปร่างทางเรขาคณิต ก็อาจใช้การวัดพื้นที่โดยตรง
สำหรับการคำนวณปริมาณงานดินขุดบ่อก่อสร้างของงานอาคารชลประทานทั่วไป ในแบบก่อสร้างจะกำหนดเส้นขอบเขตของการขุดไว้ ซึ่งจะมี Side Slope ประมาณ 1:1 และขนาดก้นบ่อจะกว้างกว่าตัวอาคารประมาณ 1 เมตร โดยรอบ
ในกรณีที่ระดับดินเดิมมีค่าระดับที่เปลี่ยนแปลงมาก ผู้คิดคำนวณปริมาณงานจะต้องดำเนินการคำนวณจากแบบก่อสร้างตามหลักวิศวกรรม
4)งานถมดินบดอัดแน่น
สำหรับงานคลองส่งน้ำให้ใช้ขั้นตอนและวิธีการคิดคำนวณปริมาณวานเช่นเดียวกับงานขุดซึ่งมีหน่วยเป็น ลูกบาศ์กเมตร แต่จะต้องใช้ระดับดินเดิมเปิดหน้าดินออกไปแล้วในการหาพื้นที่รูปตัดขวางของงานดินถม
สำหรับงานดินถมของงานอาคารและงานท่อ ต้องแบ่งเป็นงานถมบดอัดแน่นด้วยแรงคนหรือถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรเบา และงานถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร โดยกำหนดให้ทำการถมบดอัดแน่นด้วยแรงคนหรือเครื่องจักรเบาภายในรัศมีประมาณ 1.00 ม. จากตัวอาคารและเหนือท่อ แล้วจึงใช้เครื่องจักรบดอัดแน่นต่อไป
5)งานขุดดินระเบิดหิน
สำหรับการคิดคำนวณปริมาณงานของงานขุดระเบิดหิน จะต้องมีผลการสำรวจชั้นดินและนำไปเขียน Profile ของชั้นหินให้ทราบขอบเขตของหินที่ต้องขุดระเบิดให้แน่ชัด โดยปกติจะคิด Side Slope ของงานขุดระเบิดหินประมาณ 0.5 : 1 นอกจากในแบบหรือ Specification จะกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น โดยมีขั้นตอนและวิธีการคิดคำนวณปริมาณงาน เช่นเดียวกับงานดินขุด ซึ่งมีหน่วยเป็น ลูกบาศ์กเมตร
6)งานคอนกรีต
การคิดคำนวณปริมาณงานสำหรับงานคอนกรีตต่างๆนั้น ให้คิดคำนวณจากแบบก่อสร้างโดยตรง มีหน่วยวัดตามที่ระบุไว้ในบัญชีแสดงรายการก่อสร้างสำหรับงานก่อสร้างชลประทาน โดยให้แบ่งตามประเภทของงานคอนกรีต 4 ประเภทคือ งานคอนกรีตล้วนปนหินใหญ่ , งานคอนกรีตโครงสร้าง , งานคอนกรีตดาด , งานคอนกรีตหยาบ
นอกจากนี้ยังมีส่วนประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับงานคอนกรีต เช่น พวกวัสดุรอยต่อชนิดต่างๆรวมทั้ง Rubber Water Stop ซึ่งสามารถคำนวณปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้างเช่นเดียวกัน โดยมีหน่วยตามที่ระบุไว้ในบัญชีแสดงรายการก่อสร้างสำหรับงานก่อสร้างชลประทาน
7)งานเหล็กเสริมคอนกรีต
ให้คิดคำนวณปริมาณงานตามที่แสดงไว้ในแบบก่อสร้างและเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ระบุไว้ในมาตรฐานรายละเอียดการเสริมเหล็กในอาคารคอนกรีตของกรมชลประทานหรือของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย(ว.ส.ท.) ซึ่งรวมถึงส่วนต่อทาบ งอปลาย หรือดัดคอม้า โดยมีหน่วยเป็นกิโลกรัม
8)งานแบบหล่อคอนกรีต
ให้คิดคำนวณปริมาณงานตามพื้นที่ผิวคอนกรีตของโครงสร้างแต่ละประเภทที่ต้องมีแบบหล่อคอนกรีตรองรับในขณะหล่อคอนกรีต โดยมีหน่วยเป็นตารางเมตร ซึ่งการยึด การเจาะรู เสียบเหล็ก และอุปกรณ์อื่นๆที่จำเป็นในการทำงาน ให้รวมอยู่ในราคาต้นทุนต่อหน่วย
9)งานหินเรียง หินทิ้ง และ Filter Materials
ให้คิดคำนวณปริมาณงานตามขอบเขตที่แสดงไว้ในแบบก่อสร้าง มีหน่วยเป็น ลูกบาศ์กเมตร โดยทั่วไปจะมีวิธีคิดคำนวณปริมาณงานจากพื้นที่ผิวคูณด้วยความหนาของชั้นหินเรียง หินทิ้ง หรือ Filter Materials
10)งานก่อสร้างสนับสนุนงานก่อสร้างตามแบบ
กรณีที่ต้องดำเนินการหรือปฏิบัติงานซึ่งแบบก่อสร้างไม่ได้กำหนดไว้ แต่มีความจำเป็นต้องดำเนินการเพื่อให้งานก่อสร้างเสร็จตามวัตถุประสงค์ ให้คิดคำนวณปริมาณงานที่ต้องดำเนินการตามหลักวิศวกรรม
ที่มา : หน้า 62 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
ในการถอดแบบคำนวณปริมาณงาน ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางจะต้องทราบขอบเขตงานก่อสร้างแต่ละรายการงานก่อสร้างอย่างชัดเจนโดยให้ถอดแบบคำนวณปริมาณงานจากแบบก่อสร้างที่จะใช้ก่อสร้างนั้น โดยไม่ต้องคิดเผื่อปริมาณงานและวัสดุ เนื่องจากหลักเกณฑ์การประเมินราคางานต้นทุนต่อหน่วยของรายการงานก่อสร้างต่างๆได้เผื่อปริมาณงานและวัสดุที่จะใช้ไว้ให้แล้ว
การถอดแบบคำนวณปริมาณงานต่างๆในงานก่อสร้างชลประทาน มีเหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังนี้
1)งานเตรียมพื้นที่
ได้แก่ งานถากถาง งานถากถางและล้มต้นไม้ หากไม่ระบุไว้เป็นอย่างอื่น ให้คิดคำนวณปริมาณงานเต็มพื้นที่งานก่อสร้าง ตามที่แสดงไว้ในแบบก่อสร้าง โดยมีหน่วยเป็น ตารางเมตร
2)งานขุดเปิดหน้าดิน
ในการก่อสร้างที่จำเป็นต้องขุดเปิดหน้าดินที่ไม่มีคุณภาพหรืออินทรีย์วัตถุออกไปเสียก่อน โดยทำการขุดเปิดหน้าดินให้มีความลึกตามที่กำหนดในแบบหรือใช้ความหนาประมาณ 0.30เมตร ให้พิจารณาตัดแบ่งช่วงงานออกเป็นช่วงๆ โดยแต่ละช่วงมีความกว้างที่จะขุดเปิดใกล้เคียงกัน แล้วคำนวณหาค่าเฉลี่ยตลอดความกว้างของแต่ละช่วง คูณด้วยความยาวของช่วงนั้นๆ จะได้พื้นที่ขุดเปิดหน้าดินในต่ละช่วง มีหน่วยเป็นตารางเมตร
จากนั้นนำพื้นที่ขุดเปิเดหน้าดินดังกล่าวมาคูณความลึกประมาณ 0.30เมตร หรือตามที่ระบุ หรือตามสภาพข้อเท็จจริงของพื้นที่นั้น จะได้ผลลัพธ์เป็น ปริมาตรงานขุดเปิดหน้าดิน มีหน่วยเป็นลูกบาศ์กเมตร
3)งานดินขุด
โดยปกติงานก่อสร้างคลองส่งน้ำจะมีระดับต่างๆและ Side Slopeกำหนดไว้แน่นอนในแบบก่อสร้าง ซึ่งสามารถคำนวณหาปริมาณงานดินขุดได้ โดยใช้สูตร
V = (A1 + 4A2 + A3) X L/6
เมื่อ
V = ปริมตรของดินขุดมีหน่วยเป็นลูกบาศ์กเมตร
A1 และ A3 = พื้นที่รูปตัดขวางของคลองที่จะขุด ตรงปลายทั้งสองของช่วงคลองที่ตัดแบ่ง มีหน่วยเป็น ตารางเมตร
A2 = พื้นที่รูปตัดขวาง ตรงกลางของช่วงคลอง มีหน่วยเป็ย ตารางเมตร
L = ความยาวของช่วงคลองที่ตัดแบ่ง มีหน่วยเป็น เมตร
อนึ่ง สำหรับวิธีการหาพื้นที่รูปตัดขวางของคลอง ถ้ารูปร่างของรูปตัดขวางซับซ้อนไม่เป็นรูปร่างทางเรขาคณิต ก็อาจใช้การวัดพื้นที่โดยตรง
สำหรับการคำนวณปริมาณงานดินขุดบ่อก่อสร้างของงานอาคารชลประทานทั่วไป ในแบบก่อสร้างจะกำหนดเส้นขอบเขตของการขุดไว้ ซึ่งจะมี Side Slope ประมาณ 1:1 และขนาดก้นบ่อจะกว้างกว่าตัวอาคารประมาณ 1 เมตร โดยรอบ
ในกรณีที่ระดับดินเดิมมีค่าระดับที่เปลี่ยนแปลงมาก ผู้คิดคำนวณปริมาณงานจะต้องดำเนินการคำนวณจากแบบก่อสร้างตามหลักวิศวกรรม
4)งานถมดินบดอัดแน่น
สำหรับงานคลองส่งน้ำให้ใช้ขั้นตอนและวิธีการคิดคำนวณปริมาณวานเช่นเดียวกับงานขุดซึ่งมีหน่วยเป็น ลูกบาศ์กเมตร แต่จะต้องใช้ระดับดินเดิมเปิดหน้าดินออกไปแล้วในการหาพื้นที่รูปตัดขวางของงานดินถม
สำหรับงานดินถมของงานอาคารและงานท่อ ต้องแบ่งเป็นงานถมบดอัดแน่นด้วยแรงคนหรือถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรเบา และงานถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร โดยกำหนดให้ทำการถมบดอัดแน่นด้วยแรงคนหรือเครื่องจักรเบาภายในรัศมีประมาณ 1.00 ม. จากตัวอาคารและเหนือท่อ แล้วจึงใช้เครื่องจักรบดอัดแน่นต่อไป
5)งานขุดดินระเบิดหิน
สำหรับการคิดคำนวณปริมาณงานของงานขุดระเบิดหิน จะต้องมีผลการสำรวจชั้นดินและนำไปเขียน Profile ของชั้นหินให้ทราบขอบเขตของหินที่ต้องขุดระเบิดให้แน่ชัด โดยปกติจะคิด Side Slope ของงานขุดระเบิดหินประมาณ 0.5 : 1 นอกจากในแบบหรือ Specification จะกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น โดยมีขั้นตอนและวิธีการคิดคำนวณปริมาณงาน เช่นเดียวกับงานดินขุด ซึ่งมีหน่วยเป็น ลูกบาศ์กเมตร
6)งานคอนกรีต
การคิดคำนวณปริมาณงานสำหรับงานคอนกรีตต่างๆนั้น ให้คิดคำนวณจากแบบก่อสร้างโดยตรง มีหน่วยวัดตามที่ระบุไว้ในบัญชีแสดงรายการก่อสร้างสำหรับงานก่อสร้างชลประทาน โดยให้แบ่งตามประเภทของงานคอนกรีต 4 ประเภทคือ งานคอนกรีตล้วนปนหินใหญ่ , งานคอนกรีตโครงสร้าง , งานคอนกรีตดาด , งานคอนกรีตหยาบ
นอกจากนี้ยังมีส่วนประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับงานคอนกรีต เช่น พวกวัสดุรอยต่อชนิดต่างๆรวมทั้ง Rubber Water Stop ซึ่งสามารถคำนวณปริมาณงานได้จากแบบก่อสร้างเช่นเดียวกัน โดยมีหน่วยตามที่ระบุไว้ในบัญชีแสดงรายการก่อสร้างสำหรับงานก่อสร้างชลประทาน
7)งานเหล็กเสริมคอนกรีต
ให้คิดคำนวณปริมาณงานตามที่แสดงไว้ในแบบก่อสร้างและเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ระบุไว้ในมาตรฐานรายละเอียดการเสริมเหล็กในอาคารคอนกรีตของกรมชลประทานหรือของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย(ว.ส.ท.) ซึ่งรวมถึงส่วนต่อทาบ งอปลาย หรือดัดคอม้า โดยมีหน่วยเป็นกิโลกรัม
8)งานแบบหล่อคอนกรีต
ให้คิดคำนวณปริมาณงานตามพื้นที่ผิวคอนกรีตของโครงสร้างแต่ละประเภทที่ต้องมีแบบหล่อคอนกรีตรองรับในขณะหล่อคอนกรีต โดยมีหน่วยเป็นตารางเมตร ซึ่งการยึด การเจาะรู เสียบเหล็ก และอุปกรณ์อื่นๆที่จำเป็นในการทำงาน ให้รวมอยู่ในราคาต้นทุนต่อหน่วย
9)งานหินเรียง หินทิ้ง และ Filter Materials
ให้คิดคำนวณปริมาณงานตามขอบเขตที่แสดงไว้ในแบบก่อสร้าง มีหน่วยเป็น ลูกบาศ์กเมตร โดยทั่วไปจะมีวิธีคิดคำนวณปริมาณงานจากพื้นที่ผิวคูณด้วยความหนาของชั้นหินเรียง หินทิ้ง หรือ Filter Materials
10)งานก่อสร้างสนับสนุนงานก่อสร้างตามแบบ
กรณีที่ต้องดำเนินการหรือปฏิบัติงานซึ่งแบบก่อสร้างไม่ได้กำหนดไว้ แต่มีความจำเป็นต้องดำเนินการเพื่อให้งานก่อสร้างเสร็จตามวัตถุประสงค์ ให้คิดคำนวณปริมาณงานที่ต้องดำเนินการตามหลักวิศวกรรม
ที่มา : หน้า 62 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
28 บัญชีแสดงรายการก่อสร้าง สำหรับงานก่อสร้างชลประทาน
บัญชีแสดงรายการก่อสร้าง สำหรับงานก่อสร้างชลประทาน เป็นบัญชีที่รวบรวมรายการงานก่อสร้างต่างๆที่งานก่อสร้างชลประทานโดยทั่วไปควรจะมี ไว้เพื่อใช้เป็นแม่แบบและแนวทางประกอบการพิจารณาถอดแบบก่อสร้าง เพื่อกำหนดรายการงานก่อสร้างในการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน โดยได้กำหนดและรวมรายการงานก่อสร้างต่างๆทั่วไปที่งานก่อสร้างชลประทานทั่วไปควรจะมี ไว้เป็นกลุ่มงาน รวม 64 กลุ่มงานและในแต่ละกลุ่มงานจะประกอบด้วยรายการงานก่อสร้างต่างๆในกลุ่มงานั้นๅ และในแต่ละรายการงานก่อสร้างยังได้อธิบายลักษณะและขอบเขตของงานไว้เพื่อให้ผู้ที่มีหน้าที่คำนวณราคากลางใช้เป็นแนวทางประกอบในการพิจารณาถอดแบบก่อสร้างด้วย
เนื่องจากบัญชีแสดงรายการก่อสร้างสำหรับงานก่อสร้างชลประทานดังกล่าว เป็นบัญชีที่รวบรวมรายการงานก่อสร้างต่างๆที่งานก่อสร้างชลประทานโดยทั่วไปควรจะมี เมื่อถอดแบบก่อสร้างสำหรับในบางโครงการ/งานก่อสร้าง อาจมีรายการไม่ตรงกันหรือนอกเหนือจากที่ระบุไว้ในรายการงานนี้ ดังนั้นจึงมีข้อกำหนดให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางใช้เป็นแนวทางประกอบการพิจารณาถอดแบบ และสามารถปรับปรุง ลด เปลี่ยนแปลง แก้ไข และหรือเพิ่มเติมรายการงานก่อสร้างได้ตามความเหมาะสมและสอดคล้องตามข้อมูลข้อเท็จจริงสำหรับโครงการ/งานก่อสร้างที่ถอดแบบคำนวณราคากลางงานก่อสร้างนั้น
ตัวอย่างเช่น กลุ่มงานที่ 1 คือ งานถางป่า มี 2 ชนิดงานย่อย คือ
1.1 งานถากถาง
ลักษณะงาน : เป็นการขุดดิน ไถ หรือตัด เอาเศษดิน หญ้า ไม้พุ่ม รากไม้ ตอไม้และสิ่งอันไม่พึงประสงค์ออกไปจากบริเวณที่จะ่กอสร้าง
ขอบเขตงาน :
ถากถางให้ครอบคลุมพื้นที่ที่จะก่อสร้างทั้งหมด พร้อมขนย้ายไปทิ้ง ฝัง หรือเผาทำลายนอกพื้นที่ก่อสร้าง
1.2 งานถากถางแล้ล้อมต้นไม้
ลักษณะงาน และ ขอบเขตงาน เพิ่มเติมต้นไม้ขนาดใหญ่เข้าไปในรานละเอียด
กล่าวโดยสรุป สามารถใช้เป็นมาตรฐาน แนวทาง เพื่อการสร้างรายการงานBreakdown และนิยามความหมายให้ตรงกันในหลายๆฝ่ายของผู้ที่เกี่ยวข้องในงานก่อสร้างทุกขั้นตอน
ที่มา : หน้า 42 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
เนื่องจากบัญชีแสดงรายการก่อสร้างสำหรับงานก่อสร้างชลประทานดังกล่าว เป็นบัญชีที่รวบรวมรายการงานก่อสร้างต่างๆที่งานก่อสร้างชลประทานโดยทั่วไปควรจะมี เมื่อถอดแบบก่อสร้างสำหรับในบางโครงการ/งานก่อสร้าง อาจมีรายการไม่ตรงกันหรือนอกเหนือจากที่ระบุไว้ในรายการงานนี้ ดังนั้นจึงมีข้อกำหนดให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางใช้เป็นแนวทางประกอบการพิจารณาถอดแบบ และสามารถปรับปรุง ลด เปลี่ยนแปลง แก้ไข และหรือเพิ่มเติมรายการงานก่อสร้างได้ตามความเหมาะสมและสอดคล้องตามข้อมูลข้อเท็จจริงสำหรับโครงการ/งานก่อสร้างที่ถอดแบบคำนวณราคากลางงานก่อสร้างนั้น
ตัวอย่างเช่น กลุ่มงานที่ 1 คือ งานถางป่า มี 2 ชนิดงานย่อย คือ
1.1 งานถากถาง
ลักษณะงาน : เป็นการขุดดิน ไถ หรือตัด เอาเศษดิน หญ้า ไม้พุ่ม รากไม้ ตอไม้และสิ่งอันไม่พึงประสงค์ออกไปจากบริเวณที่จะ่กอสร้าง
ขอบเขตงาน :
ถากถางให้ครอบคลุมพื้นที่ที่จะก่อสร้างทั้งหมด พร้อมขนย้ายไปทิ้ง ฝัง หรือเผาทำลายนอกพื้นที่ก่อสร้าง
1.2 งานถากถางแล้ล้อมต้นไม้
ลักษณะงาน และ ขอบเขตงาน เพิ่มเติมต้นไม้ขนาดใหญ่เข้าไปในรานละเอียด
กล่าวโดยสรุป สามารถใช้เป็นมาตรฐาน แนวทาง เพื่อการสร้างรายการงานBreakdown และนิยามความหมายให้ตรงกันในหลายๆฝ่ายของผู้ที่เกี่ยวข้องในงานก่อสร้างทุกขั้นตอน
ที่มา : หน้า 42 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
27 : รายการเอกสารประกอบการจัดทำรายงานการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน
เอกสารรายงานการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน ควรประกอบด้วยเอกสารเรียงตามลำดับ ดังนี้
1)แบบสรุปราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน ซึ่งประธานกรรมการกำหนดราคากลางและกรรมการกำหนดราคากลางทุกคน เป็นผู้ลงนาม
2)รายละเอียดการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยของทุกรายการงานก่อสร้าง
3)รายละเอียดการรวมค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนด และคำนวณหาค่า Factor F
4)แบบฟอร์มการคำนวณ รายละเอียด คำชี้แจง และหรือเหตุผลและความจำเป็นเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องมี
5)รายละเอียดการคำนวณค่าขนส่ง
6)ข้อมูล รายละเอียด คำชี้แจง และหรือเหตุผลและความจำเป็นในการสืบราคาและแหล่งวัสดุก่อสร้าง รวมทั้งค่าแรงงานและอื่นๆ(ถ้ามี)
7)แบบฟอร์ม เอกสาร ข้อมูล รายละเอียด หลักฐาน และหรือคำชี้แจงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทานนั้น(ถ้ามี)
นำรายงานการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน เสนอหัวหน้าส่วนราชการพิจารณาให้ความเห็นชอบ
ที่มา : หน้า 37 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
1)แบบสรุปราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน ซึ่งประธานกรรมการกำหนดราคากลางและกรรมการกำหนดราคากลางทุกคน เป็นผู้ลงนาม
2)รายละเอียดการคำนวณค่างานต้นทุนต่อหน่วยของทุกรายการงานก่อสร้าง
3)รายละเอียดการรวมค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนด และคำนวณหาค่า Factor F
4)แบบฟอร์มการคำนวณ รายละเอียด คำชี้แจง และหรือเหตุผลและความจำเป็นเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องมี
5)รายละเอียดการคำนวณค่าขนส่ง
6)ข้อมูล รายละเอียด คำชี้แจง และหรือเหตุผลและความจำเป็นในการสืบราคาและแหล่งวัสดุก่อสร้าง รวมทั้งค่าแรงงานและอื่นๆ(ถ้ามี)
7)แบบฟอร์ม เอกสาร ข้อมูล รายละเอียด หลักฐาน และหรือคำชี้แจงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทานนั้น(ถ้ามี)
นำรายงานการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน เสนอหัวหน้าส่วนราชการพิจารณาให้ความเห็นชอบ
ที่มา : หน้า 37 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
26 : Factor F ค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนด
คำนวณ Factor F ค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนด ตามสูตรดังนี้
Factor F ค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนด = 1+ ( ผลรวมค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนด / ((ค่างานต้นทุนรวมทุกรายการที่มีข้อกำหนดให้ใช้ค่า Factor F จากตาราง Factor F งานก่อสร้างชลประทาน x ค่าFactor F จากตาราง Factor F งานก่อสร้างชลประทาน ) + ( (ค่างานต้นทุนรวมทุกรายการที่มีข้อกำหนดให้ใช้ค่า Factor F จากตาราง Factor F งานก่อสร้างสะพานและท่อเหลี่ยม xค่า Factor F งานก่อสร้างสะพานและท่อเหลี่ยม)))
จะได้ค่า Factor F ค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนด = 1.xxxx (กำหนดมาตรฐานทศนิยม 4 ตำแหน่ง โดยไม่มีการปัดเศษ)
นำค่า Factor F ค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดที่ได้ไปคูณค่า Factor F ที่ได้คำนวณไว้ก่อนแล้วสำหรับงานก่อสร้าง ชลประทาน และงานก่อสร้างทาง สะพาน และท่อเหลี่ยม จะได้ค่าFactor F งานก่อสร้างชลประทาน และงานก่อสร้างทาง สะพานและท่อเหลี่ยมที่ได้รวมค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดไว้แล้ว
ตารางตัวอย่าง
ที่มา : หน้า 35 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
Factor F ค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนด = 1+ ( ผลรวมค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนด / ((ค่างานต้นทุนรวมทุกรายการที่มีข้อกำหนดให้ใช้ค่า Factor F จากตาราง Factor F งานก่อสร้างชลประทาน x ค่าFactor F จากตาราง Factor F งานก่อสร้างชลประทาน ) + ( (ค่างานต้นทุนรวมทุกรายการที่มีข้อกำหนดให้ใช้ค่า Factor F จากตาราง Factor F งานก่อสร้างสะพานและท่อเหลี่ยม xค่า Factor F งานก่อสร้างสะพานและท่อเหลี่ยม)))
จะได้ค่า Factor F ค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนด = 1.xxxx (กำหนดมาตรฐานทศนิยม 4 ตำแหน่ง โดยไม่มีการปัดเศษ)
นำค่า Factor F ค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดที่ได้ไปคูณค่า Factor F ที่ได้คำนวณไว้ก่อนแล้วสำหรับงานก่อสร้าง ชลประทาน และงานก่อสร้างทาง สะพาน และท่อเหลี่ยม จะได้ค่าFactor F งานก่อสร้างชลประทาน และงานก่อสร้างทาง สะพานและท่อเหลี่ยมที่ได้รวมค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดไว้แล้ว
ตารางตัวอย่าง
ที่มา : หน้า 35 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
25 : แนวคิดและโครงสร้างของการจัดทำราคากลางและประมาณราคาในงานก่อสร้างชลประทาน
ในการจัดทำราคากลางหรือประมาณราคาในงานก่อสร้างชลประทานโดยทั่วไป เมื่อได้ดำเนินการถอดแบบและคำนวณปริมาณงานแล้ว จะนำปริมาณงานที่คำนวณได้มาพิจารณาจัดทำราคากลางซึ่งในการดำเนินการดังกล่าว ประกอบด้วย รายละเอียดพิจารณาได้เป็น 5 ระดับ(Layer)ดังนี้
LAYER ที่ 1 : บัญชีแสดงรายการงานต่างๆ เพื่อจัดทำราคากลาง
เป็นการออกแบบรายการ(Item)งานก่อสร้าง โดยคำนึงถึงความเหมาะสมในการปฏิบัติงาน การบริหารสัญญา และการจ่ายเงิน โดยไม่ขัดกับขั้นตอนการทำงานและระเบียบการจ่ายเงินค่างาน
LAYER ที่ 2 : รายละเอียดการคำนวณ(Breakdown) ของราคางานต้นทุนต่อหน่วยที่ปรากฏในราคากลาง
เป็นการแสดงรายละเอียดการคำนวณราคาต่อหน่วยที่นำมาใช้ในการคำนวณในรายละเอียดการคำนวณ(Breakdown) ในLayerที่ 2
LAYER ที่ 3 :รายละเอียดราคาต่อหน่วยของ Breakdown (Layer2)
เป็นรายละเอียดที่มาของราคาต่อหน่วยที่นำมาใช้ในการคำนวณในรายลอะเอียดการคำนวณ (ฺBreakdown) ในLayerที่2
LAYER ที่ 4 :หลักฐานที่มาของราคาวัสดุ อุปกรณ์ หน่วยวัสดุ และการเปรียบเทียบราคา
เป็นหลักฐานที่มาของราคาวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการคำนวณราคางานต้นทุนต่อหน่วยหรือราคางาน ใน Layerต่างๆ ทั้ง 3 Layer ข้างต้น
LAYER ที่ 5 :รายละเอียดการคำนวณปริมาณงานจากการถอดแบบ
เป็นหลักฐานแสดงการถอดแบบการคำนวณปริมาณงาน ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนด เพื่อนำไปใช้ในการคำรวณใน Layerต่างๆทั้ง 4 Layer ข้างต้น
จากแนวคิดดังกล่าวสามารถจัดทำเป็นแผนภาพได้ตามนี้..............
แผนภาพ
ที่มา : หน้า 29 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
LAYER ที่ 1 : บัญชีแสดงรายการงานต่างๆ เพื่อจัดทำราคากลาง
เป็นการออกแบบรายการ(Item)งานก่อสร้าง โดยคำนึงถึงความเหมาะสมในการปฏิบัติงาน การบริหารสัญญา และการจ่ายเงิน โดยไม่ขัดกับขั้นตอนการทำงานและระเบียบการจ่ายเงินค่างาน
LAYER ที่ 2 : รายละเอียดการคำนวณ(Breakdown) ของราคางานต้นทุนต่อหน่วยที่ปรากฏในราคากลาง
เป็นการแสดงรายละเอียดการคำนวณราคาต่อหน่วยที่นำมาใช้ในการคำนวณในรายละเอียดการคำนวณ(Breakdown) ในLayerที่ 2
LAYER ที่ 3 :รายละเอียดราคาต่อหน่วยของ Breakdown (Layer2)
เป็นรายละเอียดที่มาของราคาต่อหน่วยที่นำมาใช้ในการคำนวณในรายลอะเอียดการคำนวณ (ฺBreakdown) ในLayerที่2
LAYER ที่ 4 :หลักฐานที่มาของราคาวัสดุ อุปกรณ์ หน่วยวัสดุ และการเปรียบเทียบราคา
เป็นหลักฐานที่มาของราคาวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการคำนวณราคางานต้นทุนต่อหน่วยหรือราคางาน ใน Layerต่างๆ ทั้ง 3 Layer ข้างต้น
LAYER ที่ 5 :รายละเอียดการคำนวณปริมาณงานจากการถอดแบบ
เป็นหลักฐานแสดงการถอดแบบการคำนวณปริมาณงาน ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนด เพื่อนำไปใช้ในการคำรวณใน Layerต่างๆทั้ง 4 Layer ข้างต้น
จากแนวคิดดังกล่าวสามารถจัดทำเป็นแผนภาพได้ตามนี้..............
แผนภาพ
ที่มา : หน้า 29 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
24 : ลักษณะงานและแนวทางการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างทาง สะพาน และท่อเหลี่ยมที่นำมาปรับใช้กับงานชลประทาน
เนื่องจากงานก่อสร้างชลประทานบางรายการ มีลักษณะงานวิธีการทำงานและการใช้วัสดุอุปกรณ์รวมทั้งอยู่ภายใต้มาตรฐานสากลด้านสถาปัตยกรรมและวิศวกรรมเหมือนกัน จึงสมควรใช้อัตราราคางานที่เป็นแนวทางเดียวกัน โดยนำแนวทางและวิธีการคำนวณอัตราราคางานของงานก่อสร้างทาง สะพาน และท่อเหลี่ยมมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับงานก่อสร้างชลประทานด้วย
ลักษณะงานที่ได้พิจารณารำแนวทางและวิธีการคำนวณอัตราราคางานของงานก่อสร้างทาง สะพาน และท่อเหลี่ยมมาปรับใช้กับงานก่อสร้างชลประทานดังกล่าว ประกอบด้วย งานดังต่อไปนี้
1)งานถางป่า
1.1)งานถากถาง
1.2)งานถากถางและล้มต้นไม้
2)งานขุดเปิดหน้าดิน
3)งานดินขุดด้วยเครื่องจักร
4)งานตักดิน
5)งานดินขุดยาก
5.1)ค่าขุด
5.2)ค่าดันและตักดิน
6)งานบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร 95%
7)งานลูกรังบดอัดแน่นวัสดุคัดเลือก
7.1)ค่าขุด
7.2)ค่าบดทับ
8)งานพื้นทาง(หินคลุก)
8.1)ค่าบดทับ
8.2)ค่าผสม(ฺBlend)
9)อัตราราคาค่าขนส่งที่อัตราราคาน้ำมันระดับต่างๆ(ตารางและหลักเกณฑ์การคำนวณค่าขนส่งวัสดุก่อสร้าง กรณีบรรทุก 10ล้อ น้ำหนักรวมไม่เกิน25 ตัน)
10)นำตาราง Factor F สำหรับงานก่อสร้างทาง สะพาน และท่อเหลี่ยม จำนวน 1 ตารางได้แก่ ตารางFactor F งานก่อสร้างสะพานและท่อเหลี่ยม มาปรับใช้กับงานก่อสร้างชลประทาน ดังนี้
10.1)งานก่อสร้างอาคารชลประทานที่แยกรายการเป็นงานย่อย เฉพาะงานคอนกรีตทุกประเภท (ยกเว้นงานคอนกรีตดาด) งานเหล็กเสริมคอนกรีต และงานวัสดุรอยต่อคอนกรีตทุกชนิด
10.2)งานก่อสร้างอาคารชลประทานที่ไม่แยกรายการเป็นงานย่อย แต่กำหนดหน่วยเป็น 1 แห่ง 1 ที่ หรือ 1 หน่วย
ที่มา : หน้า 27 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
ลักษณะงานที่ได้พิจารณารำแนวทางและวิธีการคำนวณอัตราราคางานของงานก่อสร้างทาง สะพาน และท่อเหลี่ยมมาปรับใช้กับงานก่อสร้างชลประทานดังกล่าว ประกอบด้วย งานดังต่อไปนี้
1)งานถางป่า
1.1)งานถากถาง
1.2)งานถากถางและล้มต้นไม้
2)งานขุดเปิดหน้าดิน
3)งานดินขุดด้วยเครื่องจักร
4)งานตักดิน
5)งานดินขุดยาก
5.1)ค่าขุด
5.2)ค่าดันและตักดิน
6)งานบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักร 95%
7)งานลูกรังบดอัดแน่นวัสดุคัดเลือก
7.1)ค่าขุด
7.2)ค่าบดทับ
8)งานพื้นทาง(หินคลุก)
8.1)ค่าบดทับ
8.2)ค่าผสม(ฺBlend)
9)อัตราราคาค่าขนส่งที่อัตราราคาน้ำมันระดับต่างๆ(ตารางและหลักเกณฑ์การคำนวณค่าขนส่งวัสดุก่อสร้าง กรณีบรรทุก 10ล้อ น้ำหนักรวมไม่เกิน25 ตัน)
10)นำตาราง Factor F สำหรับงานก่อสร้างทาง สะพาน และท่อเหลี่ยม จำนวน 1 ตารางได้แก่ ตารางFactor F งานก่อสร้างสะพานและท่อเหลี่ยม มาปรับใช้กับงานก่อสร้างชลประทาน ดังนี้
10.1)งานก่อสร้างอาคารชลประทานที่แยกรายการเป็นงานย่อย เฉพาะงานคอนกรีตทุกประเภท (ยกเว้นงานคอนกรีตดาด) งานเหล็กเสริมคอนกรีต และงานวัสดุรอยต่อคอนกรีตทุกชนิด
10.2)งานก่อสร้างอาคารชลประทานที่ไม่แยกรายการเป็นงานย่อย แต่กำหนดหน่วยเป็น 1 แห่ง 1 ที่ หรือ 1 หน่วย
ที่มา : หน้า 27 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
23 : แบบฟอร์มสำหรับการคำนวณค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องมี
การคำนวณค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องมีในงานก่อสร้างต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการในการคำนวณค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องมีในงานก่อสร้าง ซึ่งมีรายละเอียดปรากฏอยู่ในส่วนของหลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง เพื่อให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางได้มีแบบฟอร์มสำหรับการคำนวณ สรุป และรวบรวมค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดในรูปแบบและในแนวทางเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรณีของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นตามเงื่อนไขที่กำหนดให้ผู้รับจ้างต้องจัดหาที่พักและอุปกรณ์อำนวยความสะดวกสำหรับผู้ควบคุมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง จึงได้กำหนดให้มีแบบฟอร์มสำหรับการคำนวณ สรุป และรวบรวมค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องมีไว้ เพื่อให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางได้ปรับใช้ตามความเหมาะสมและสอดคล้องตามข้อเท็จจริงสำหรับแต่ละโครงการ/งานก่อสร้างที่คำนวณราคากลางนั้น
แบบฟอร์มซึ่งถูกกำหนดขึ้นมีจำนวน 6รายการคือ
1)เพื่องานจัดหายานพาหนะ
2)เพื่องานจัดหาคอมพิวเตอร์ Scanner กล้องถ่ายภาพ มัลติมีเดียโปรเจคเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่ไม่มีค่าใช้จ่ายวัสดุสิ้นเปลือง
3)งานจัดหาเครื่องพิมพ์เอกสาร (Laser Printer) พร้อมอุปกรณ์ครบชุด
4)งานจัดหาเครื่องพิมพ์เอกสาร (Inkjet Printer) พร้อมอุปกรณ์ครบชุด
5)งานจัดหาอินเตอร์เนตความเร็วสูง พร้อมติดตั้งระบบ LAN ครบชุด
6)งานจัดหาเครื่องถ่ายเอกสาร
ในกรณีที่มีค่าใช้จ่ายในการจัดหาที่พักและหรืออุปกรณ์อำนวยความสะดวกสำหรับผู้ควบคุมงานและผู้ที่เกี่ยวข้องรายการอื่นๆ และไม่สามารถใช้หรือปรับแบบฟอร์มตามข้อ1-6นี้ได้ ให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางกำหนดแบบฟอร์มขึ้นเองตามความเหมาะสมและสอดคล้องตามข้อมูลและข้อเท็จจริงสำหรับค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดแต่ละราายการ โดยไม่รวมค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม
ตัวอย่างแบบฟอร์ม.........
ที่มา : หน้า19 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
แบบฟอร์มซึ่งถูกกำหนดขึ้นมีจำนวน 6รายการคือ
1)เพื่องานจัดหายานพาหนะ
2)เพื่องานจัดหาคอมพิวเตอร์ Scanner กล้องถ่ายภาพ มัลติมีเดียโปรเจคเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่ไม่มีค่าใช้จ่ายวัสดุสิ้นเปลือง
3)งานจัดหาเครื่องพิมพ์เอกสาร (Laser Printer) พร้อมอุปกรณ์ครบชุด
4)งานจัดหาเครื่องพิมพ์เอกสาร (Inkjet Printer) พร้อมอุปกรณ์ครบชุด
5)งานจัดหาอินเตอร์เนตความเร็วสูง พร้อมติดตั้งระบบ LAN ครบชุด
6)งานจัดหาเครื่องถ่ายเอกสาร
ในกรณีที่มีค่าใช้จ่ายในการจัดหาที่พักและหรืออุปกรณ์อำนวยความสะดวกสำหรับผู้ควบคุมงานและผู้ที่เกี่ยวข้องรายการอื่นๆ และไม่สามารถใช้หรือปรับแบบฟอร์มตามข้อ1-6นี้ได้ ให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางกำหนดแบบฟอร์มขึ้นเองตามความเหมาะสมและสอดคล้องตามข้อมูลและข้อเท็จจริงสำหรับค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดแต่ละราายการ โดยไม่รวมค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม
ตัวอย่างแบบฟอร์ม.........
ที่มา : หน้า19 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน กุมภาพันธ์ 2555
22 หลักเกณฑ์การใช้ ตาราง Factor F งานก่อสร้างสะพานและท่อเหลี่ยม
ที่มา : หน้า 389 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้าง ทาง สะพาน และท่อเหลี่ยม
20 : การจำแนกFactor F ตามปริมาณสถิติฝนตกชุก
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการในพื้นที่ที่มีฝนตกชุกมากว่าพื้นที่อื่นจะมีผลทำให้มีชั่วโมงการทำงานที่น้อยกว่าพื้นที่ปกติ ดังนั้นค่าอำนวยการจะสูงขึ้น และยังกระทบต่อค่าการครอบครองเครื่องจักรที่ใช้ในการปฏิบัติงาน จึงต้องคำนวณค่าชดเชยอันเนื่องมาจากฝนตกชุกนี้
การจำแนกFactor F ตามปริมาณสถิติฝนตกชุก แบ่งเป็น3ประเภทคือ
1)ฝนตกชุก1 คือ จังหวัดที่มีปริมาณน้ำฝนตกเฉลี่ยต่อปีเกิน 1,600มม. และมีระยะเวลาฝนตกติดต่อกันเฉลี่ย 1เดือน ได้แก่จังหวัด จันทบุรี ชุมพร เชียงราย ตรัง นครพนม นครศรีธรรมราช ปราจีนบุรี ปัตตานี พัทลุง สงขลา สตูล สุรษฏร์ธานี หนองคาย
2)ฝนตกชุก1 คือ จังหวัดที่มีปริมาณน้ำฝนตกเฉลี่ยต่อปีเกิน 1,600มม. และมีระยะเวลาฝนตกติดต่อกันเฉลี่ยเกิน 1เดือน ได้แก่จังหวัด ตราด นราธิวาส พังงา ภูเก็ต ยะลา ระนอง
3)ฝนตกปกติ คือจังหวัดที่เหลือซึ่งมิใช่จังหวัดที่ถูกนิยามเป็นฝนตกชุก 1 และ ฝนตกชุก2
การจำแนกFactor F ตามปริมาณสถิติฝนตกชุก แบ่งเป็น3ประเภทคือ
1)ฝนตกชุก1 คือ จังหวัดที่มีปริมาณน้ำฝนตกเฉลี่ยต่อปีเกิน 1,600มม. และมีระยะเวลาฝนตกติดต่อกันเฉลี่ย 1เดือน ได้แก่จังหวัด จันทบุรี ชุมพร เชียงราย ตรัง นครพนม นครศรีธรรมราช ปราจีนบุรี ปัตตานี พัทลุง สงขลา สตูล สุรษฏร์ธานี หนองคาย
2)ฝนตกชุก1 คือ จังหวัดที่มีปริมาณน้ำฝนตกเฉลี่ยต่อปีเกิน 1,600มม. และมีระยะเวลาฝนตกติดต่อกันเฉลี่ยเกิน 1เดือน ได้แก่จังหวัด ตราด นราธิวาส พังงา ภูเก็ต ยะลา ระนอง
3)ฝนตกปกติ คือจังหวัดที่เหลือซึ่งมิใช่จังหวัดที่ถูกนิยามเป็นฝนตกชุก 1 และ ฝนตกชุก2
19 : ตารางและหลักเกณฑ์ การคำนวณค่าขนส่งวัสดุก่อสร้าง
ที่มา : หน้า 80 แนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง กุมภาพันธ์ 2555
18 : ต้นทุนทางตรงและค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานก่อสร้าง
ต้นทุนค่าก่อสร้าง หรือ ราคากลางงานก่อสร้างของภาครัฐมาจากสองส่วนหลักคือ
1)ค่างานต้นทุนทางตรง(Direct Cost)
โดยทั่วไปคือค่าวัสดุ และค่าแรงงานในการนำวัตถุดิบ วัสดุก่อสร้าง อุปกรณ์ มาติดตั้งประกอบกันขึ้นเป็นสิ่งก่อสร้างที่เสร็จสมบูรณ์ตามแบบก่อสร้าง
2)ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานก่อสร้าง(Indirect Cost)
เป็นส่วนของค่าอำนวยการ ดอกเบี้ย กำไร และค่าภาษี เพื่อให้เกิดความสะดวกและคล่องตัวในการคิดคำนวณราคากลาง กรมบัญชีกลางได้คำนวณและจัดทำไว้ในรูปแบบของตารางสำเร็จรูป โดยแบ่งเป็นประเภทของตารางตามลักษณะงานก่อสร้าง เช่น ทาง สะพาน ท่อเหลี่ยม , ชลประทาน และอาคาร
ที่มา : หน้า 8 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง ทาง สะพาน และท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
1)ค่างานต้นทุนทางตรง(Direct Cost)
โดยทั่วไปคือค่าวัสดุ และค่าแรงงานในการนำวัตถุดิบ วัสดุก่อสร้าง อุปกรณ์ มาติดตั้งประกอบกันขึ้นเป็นสิ่งก่อสร้างที่เสร็จสมบูรณ์ตามแบบก่อสร้าง
2)ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานก่อสร้าง(Indirect Cost)
เป็นส่วนของค่าอำนวยการ ดอกเบี้ย กำไร และค่าภาษี เพื่อให้เกิดความสะดวกและคล่องตัวในการคิดคำนวณราคากลาง กรมบัญชีกลางได้คำนวณและจัดทำไว้ในรูปแบบของตารางสำเร็จรูป โดยแบ่งเป็นประเภทของตารางตามลักษณะงานก่อสร้าง เช่น ทาง สะพาน ท่อเหลี่ยม , ชลประทาน และอาคาร
ที่มา : หน้า 8 หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง ทาง สะพาน และท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
17 : ที่มาข้อมูลสำหรับการกำหนดตารางและหลักเกณฑ์การคำนวณค่าขนส่งวัสดุก่อสร้าง
ตารางและหลักเกณฑ์การคำนวณค่าขนส่งวัสดุก่อสร้างสำหรับงานก่อสร้างภาครัฐมีที่มาและเหตุผลดังนี้
1)ราคารถบรรทุก
2)ราคายางรถยนต์
3)อายุการใช้งานของรถ
4)อัตราดอกเบี้ย
5)ระยะทางที่ใช้วิ่งรถในหนึ่งปี
6)ราคาน่ำมันเชื้อเพลิง
7)ราคาน้ำมันหล่อลื่น
8)เงินเดือนพนักงานขับรถและเด็กท้ายรถ
9)ค่าทะเบียนรถยนต์
10)ค่าประกันอุบัติเหตุ
11)ความหนาแน่นของวัสดุมวลรวมที่ขนส่ง
12)น้ำหนักรถและน้ำหนักการบรรทุก
13)ความเร็วเฉลี่ย
14)เวลาที่ใช้ตักวัสดุขึ้นรถบรรทุกบนรถและเทลงกองที่หน้างานก่อสร้าง
15)ค่าซ่อมบำรุงรักษารถ
16)อัตราการสิ้นเปลืองของน้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันหล่อลื่น และยางรถยนต์
17)lสภาพความสูงชันของภูมิประเทศที่รถขนส่งวิ่ง
ในแต่ละหน่วยงานของภาคเอกชนสามารถสร้างตารางและหลักเกณฑ์ค่าขนส่งวัสดุก่อสร้างได้โดยเก็บรวบรวมฐานข้อมูล วิเคราะห์ จากการดำเนินการในกิจการ และปรับปรุงอัพเดททุกๆระยะที่ตัวแปรหลักมีการเปลี่ยนแปลง เช่น ราคาน้ำมันเชื้อเพลิง ราคารถขนส่ง
ทั้งนี้บางกิจการอาจใช้การขนส่งด้วยยานพาหนะชนิดอื่น เช่น เรือเดินสมุทร จึงต้องมีตารางและหลักเกณฑ์เฉพาะในแต่ละงาน
ที่มา : หน้า 87 แนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง กุมภาพันธ์ 2555
1)ราคารถบรรทุก
2)ราคายางรถยนต์
3)อายุการใช้งานของรถ
4)อัตราดอกเบี้ย
5)ระยะทางที่ใช้วิ่งรถในหนึ่งปี
6)ราคาน่ำมันเชื้อเพลิง
7)ราคาน้ำมันหล่อลื่น
8)เงินเดือนพนักงานขับรถและเด็กท้ายรถ
9)ค่าทะเบียนรถยนต์
10)ค่าประกันอุบัติเหตุ
11)ความหนาแน่นของวัสดุมวลรวมที่ขนส่ง
12)น้ำหนักรถและน้ำหนักการบรรทุก
13)ความเร็วเฉลี่ย
14)เวลาที่ใช้ตักวัสดุขึ้นรถบรรทุกบนรถและเทลงกองที่หน้างานก่อสร้าง
15)ค่าซ่อมบำรุงรักษารถ
16)อัตราการสิ้นเปลืองของน้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันหล่อลื่น และยางรถยนต์
17)lสภาพความสูงชันของภูมิประเทศที่รถขนส่งวิ่ง
ในแต่ละหน่วยงานของภาคเอกชนสามารถสร้างตารางและหลักเกณฑ์ค่าขนส่งวัสดุก่อสร้างได้โดยเก็บรวบรวมฐานข้อมูล วิเคราะห์ จากการดำเนินการในกิจการ และปรับปรุงอัพเดททุกๆระยะที่ตัวแปรหลักมีการเปลี่ยนแปลง เช่น ราคาน้ำมันเชื้อเพลิง ราคารถขนส่ง
ทั้งนี้บางกิจการอาจใช้การขนส่งด้วยยานพาหนะชนิดอื่น เช่น เรือเดินสมุทร จึงต้องมีตารางและหลักเกณฑ์เฉพาะในแต่ละงาน
ที่มา : หน้า 87 แนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง กุมภาพันธ์ 2555
16 : แนวทางและข้อพิจารณาในการเลือกใช้รถบรรทุก
การคำนวณราคากลางของภาครัฐมีค่าขนส่งวัสดุก่อสร้างเป็นส่วนประกอบหลักประการหนึ่ง กรมบัญชีกลางได้กำหนดแนวทางและข้อพิจารณาในการเลือกใช้รถบรรทุกขนส่งดังนี้
1)รถบรรทุก 10 ล้อ ใช้ในกรณีดังนี้
1.1)ไม่จำเป็นต้องทำ stock pile(รวมกอง)
1.2)ปริมาณการจราจรตั้งแต่ระดับปกติถึงหนาแน่น
1.3)มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบและทางภูเขา
2)รถบรรทุกพ่วง10ล้อ มีลากพ่วง ใช้ในกรณีนี้
2.1)ใช้ขนส่งวัสดุก่อสร้าง เช่น เหล็ก ยางแอสฟัลท์ที่เป็นถังใหญ่(Bulk) ปูนซีเมนต์ผงที่เป็นถัง ใหญ่(ฺBulk) เป็นต้น
2.2)มีความจำเป็นต้องทำ Stock Pile(รวมกอง)ไว้ เพื่อขนส่งไปยังหน้างานอีกทอดหนึ่งด้วยรถบรรทุก 10ล้อหรือ 6ล้อ
2.3)มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบและทางลูกเนิน
2.4)ไม่มีข้อกำหนดให้ใช้รถบรรทุก 10ล้อ มีลากพ่วง กรณืทางที่มีลักษณะเป็นทางภูเขา
3)รถบรรทุก 6ล้อ ใช้ในกรณีนี้
3.1)ขนส่งบนทางภูเขาและหรือทางที่มีความลาดชันมาก
3.2)ในเขตชุมชนที่มีการจราจรหนาแน่น เช่น เขตกรุงเทพมหานคร และเขตเทศบาลเมือง
3.3)งานขนาดเล็กและหรือที่มีระยะเวลาดำเนินการสั้น
3.4)ในพื้นที่บริเวณทำการก่อสร้างคับแคบ เนื่องจากผิวทางจราจรแคบหรือมีงานก่อสร้างอื่นๆในบริเวณเดียวกัน ในขณะเดียวกัน
หมายเหตุ
1)ใช้เป็นหลักการทั่วไปในการคิดคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง อย่างไรก็ตามทั้งการคิดราคากลางและการปฏิบัติจริงในการก่อสร้างควรใช้ข้อมูลจริงมาประกอบ เช่น ความกว้างของถนนเข้าสู่พื้นที่ก่อสร้าง ภูมิประเทศ รายละเอียดของผู้รับจ้างท้องถิ่น ลักษณะงานก่อสร้างในแต่ละงาน
2)ในการก่อสร้างที่ต้องขนส่งวัสดุผ่านการจราจรหนาแน่นต้องคำนึงถึงการสูญเสียประสิทธิภาพจากความเร็วเฉลี่ยที่ลดลง
ดังนั้นในกรณีงานก่อสร้างที่มีลักษณะภูมิประเทศของที่ตั้ง และการขนส่งพิเศษกว่ากรณีทั่วไป การคำนวณราคากลางค่าก่อสร้างควรสำรวจข้อมูลจริงเหล่านี้ทั้งในทางเอกสาร การค้นข้อมูลทางระบบคอมพิวเตอร์และอินเตอเนต การสำรวจสภาพพื้นที่จริง เช่นในงานก่อสร้างบนเกาะแห่งหนึ่งอาจต้องหาข้อมูลการลำเลียงวัสดุก่อสร้างข้ามทะเลไปยังเกาะแห่งนั้นจะต้องใช้ยานพาหนะประเภทเรือชนิดใด มีค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องอย่างไร เมื่อขนส่งถึงฝั่งทะเลบนเกาะ จะต้องลำเลียงด้วยรถบรรทุกขนาดใด
ที่มา : หน้า 86 แนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง กุมภาพันธ์ 2555
1)รถบรรทุก 10 ล้อ ใช้ในกรณีดังนี้
1.1)ไม่จำเป็นต้องทำ stock pile(รวมกอง)
1.2)ปริมาณการจราจรตั้งแต่ระดับปกติถึงหนาแน่น
1.3)มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบและทางภูเขา
2)รถบรรทุกพ่วง10ล้อ มีลากพ่วง ใช้ในกรณีนี้
2.1)ใช้ขนส่งวัสดุก่อสร้าง เช่น เหล็ก ยางแอสฟัลท์ที่เป็นถังใหญ่(Bulk) ปูนซีเมนต์ผงที่เป็นถัง ใหญ่(ฺBulk) เป็นต้น
2.2)มีความจำเป็นต้องทำ Stock Pile(รวมกอง)ไว้ เพื่อขนส่งไปยังหน้างานอีกทอดหนึ่งด้วยรถบรรทุก 10ล้อหรือ 6ล้อ
2.3)มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบและทางลูกเนิน
2.4)ไม่มีข้อกำหนดให้ใช้รถบรรทุก 10ล้อ มีลากพ่วง กรณืทางที่มีลักษณะเป็นทางภูเขา
3)รถบรรทุก 6ล้อ ใช้ในกรณีนี้
3.1)ขนส่งบนทางภูเขาและหรือทางที่มีความลาดชันมาก
3.2)ในเขตชุมชนที่มีการจราจรหนาแน่น เช่น เขตกรุงเทพมหานคร และเขตเทศบาลเมือง
3.3)งานขนาดเล็กและหรือที่มีระยะเวลาดำเนินการสั้น
3.4)ในพื้นที่บริเวณทำการก่อสร้างคับแคบ เนื่องจากผิวทางจราจรแคบหรือมีงานก่อสร้างอื่นๆในบริเวณเดียวกัน ในขณะเดียวกัน
หมายเหตุ
1)ใช้เป็นหลักการทั่วไปในการคิดคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง อย่างไรก็ตามทั้งการคิดราคากลางและการปฏิบัติจริงในการก่อสร้างควรใช้ข้อมูลจริงมาประกอบ เช่น ความกว้างของถนนเข้าสู่พื้นที่ก่อสร้าง ภูมิประเทศ รายละเอียดของผู้รับจ้างท้องถิ่น ลักษณะงานก่อสร้างในแต่ละงาน
2)ในการก่อสร้างที่ต้องขนส่งวัสดุผ่านการจราจรหนาแน่นต้องคำนึงถึงการสูญเสียประสิทธิภาพจากความเร็วเฉลี่ยที่ลดลง
ดังนั้นในกรณีงานก่อสร้างที่มีลักษณะภูมิประเทศของที่ตั้ง และการขนส่งพิเศษกว่ากรณีทั่วไป การคำนวณราคากลางค่าก่อสร้างควรสำรวจข้อมูลจริงเหล่านี้ทั้งในทางเอกสาร การค้นข้อมูลทางระบบคอมพิวเตอร์และอินเตอเนต การสำรวจสภาพพื้นที่จริง เช่นในงานก่อสร้างบนเกาะแห่งหนึ่งอาจต้องหาข้อมูลการลำเลียงวัสดุก่อสร้างข้ามทะเลไปยังเกาะแห่งนั้นจะต้องใช้ยานพาหนะประเภทเรือชนิดใด มีค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องอย่างไร เมื่อขนส่งถึงฝั่งทะเลบนเกาะ จะต้องลำเลียงด้วยรถบรรทุกขนาดใด
ที่มา : หน้า 86 แนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง กุมภาพันธ์ 2555
15 : หลักเกณฑ์ ข้อกำหนด วิธีปฏิบัติและข้อมูลรายละเอียด สำหรับงานคำนวณราคากลางงานสะพานและท่อเหลี่ยม
หลักเกณฑ์ ข้อกำหนด วิธีปฏิบัติและข้อมูลรายละเอียด สำหรับงานคำนวณราคากลางงานสะพานและท่อเหลี่ยม ถูกจัดทำขึ้นตามรายการดังต่อไนี้
1)บัญชีแสดงรายการก่อสร้างสำหรับงานก่อสร้างทาง สะพาน และท่อเหลี่ยม
2)หลักเกณฑ์การถอดแบบคำนวณปริมาณวัสดุ
3)หลักเกณฑ์หรือสูตรการประเมินราคาต้นทุนต่อหน่วย
4)ข้อกำหนดเกี่ยวกับราคาและแหล่งวัสดุก่อสร้าง
5)บัญชีค่าแรงงาน/ค่าดำเนินการสำหรับการถอดแบบคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง
6)ตารางและหลักเกณฑ์การคำนวณค่าขนส่งวัสดุก่อสร้าง
7)ตารางค่าดำเนินการและค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร (Operating Cost)
8)ตารางปริมาณวัสดุงานสะพานชนิด SLAB TYPEและตอม่อชนิดเสาตอก
9)ตารางแริมาณวัสดุท่อเหลี่ยมแบบ Rigid Frame R.C. Box Culvert และR.C. Headwall for Box Culvert
10)ตาราง Factor F สำหรับงานก่อสร้างทาง สะพาน และท่อเหลี่ยม
10.1)ตาราง Factor F งานก่อสร้างทาง
10.2)ตาราง Factor Fงานก่อสร้างสะพานและท่อเหลี่ยม
11)หลักเกณฑ์การคำนวณค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องมี
ที่มา : หน้า 35 หลักเกณฑ์ ข้อกำหนด วิธีปฏิบัติและข้อมูลรายละเอียด สำหรับงานคำนวณราคากลางงานสะพาน และท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
หน้า 35หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้าง ทาง สะพาน และท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
1)บัญชีแสดงรายการก่อสร้างสำหรับงานก่อสร้างทาง สะพาน และท่อเหลี่ยม
2)หลักเกณฑ์การถอดแบบคำนวณปริมาณวัสดุ
3)หลักเกณฑ์หรือสูตรการประเมินราคาต้นทุนต่อหน่วย
4)ข้อกำหนดเกี่ยวกับราคาและแหล่งวัสดุก่อสร้าง
5)บัญชีค่าแรงงาน/ค่าดำเนินการสำหรับการถอดแบบคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง
6)ตารางและหลักเกณฑ์การคำนวณค่าขนส่งวัสดุก่อสร้าง
7)ตารางค่าดำเนินการและค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร (Operating Cost)
8)ตารางปริมาณวัสดุงานสะพานชนิด SLAB TYPEและตอม่อชนิดเสาตอก
9)ตารางแริมาณวัสดุท่อเหลี่ยมแบบ Rigid Frame R.C. Box Culvert และR.C. Headwall for Box Culvert
10)ตาราง Factor F สำหรับงานก่อสร้างทาง สะพาน และท่อเหลี่ยม
10.1)ตาราง Factor F งานก่อสร้างทาง
10.2)ตาราง Factor Fงานก่อสร้างสะพานและท่อเหลี่ยม
11)หลักเกณฑ์การคำนวณค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องมี
ที่มา : หน้า 35 หลักเกณฑ์ ข้อกำหนด วิธีปฏิบัติและข้อมูลรายละเอียด สำหรับงานคำนวณราคากลางงานสะพาน และท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
หน้า 35หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้าง ทาง สะพาน และท่อเหลี่ยม กุมภาพันธ์ 2555
14 : ข้อมูลประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน
ข้อมูลประกอบการคำนวณราคาลกลางงานก่อสร้างชลประทานของภาครัฐถูกจัดทำขึ้น ซึ่งประกอบด้วย
1)ตารางอัตราราคางานดิน(Operating Cost)
2)ตารางอัตราราคางานปรับปรุงฐานรากและงานระเบิดหิน
3)ข้อมูลส่วนขยายตัวและส่วนยุบตัวและส่วนสูญเสียเมื่อบดทับ (Bank Volume and Compacted Factor)
4)ตารางคำนวณอัตราราคางานคอนกรีตและหิน
5)ตารางค่าดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรเบางานก่อสร้างชลประทาน
6)ตารางคำนวณอัตราราคางานเบา ฝาท่อ และเครื่องยก
7)อัตราราคางานปลูกหญ้า
8)ข้อมูลหรือรายละเอียดประกอบการคำนวณอื่นๆสำหรับงานก่อสร้างชลประทาน
ข้อมูลประกอบจะถูกนำมาใช้ในเชิงการเพิ่มรายละเอียดของข้อมูลด้าน ปริมาณงาน(Quantity) และราคาต่อหน่วย(Unit Cost) เช่น เมื่อวัดปริมาณงานทรายถมจากแบบ จะนำมาบวกเพิ่มจากข้อมูลส่วนยุบตัวของทรายบดอัดแน่น ทำให้ราคาต่อหน่วยFinalของงานทรายถมบดอัดแน่นจะรวมปริมาตรเพิ่มเติมจากส่วนยุบตัวนี้แล้ว
ที่มา : หน้า 33 แนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง กุมภาพันธ์ 2555
1)ตารางอัตราราคางานดิน(Operating Cost)
2)ตารางอัตราราคางานปรับปรุงฐานรากและงานระเบิดหิน
3)ข้อมูลส่วนขยายตัวและส่วนยุบตัวและส่วนสูญเสียเมื่อบดทับ (Bank Volume and Compacted Factor)
4)ตารางคำนวณอัตราราคางานคอนกรีตและหิน
5)ตารางค่าดินถมบดอัดแน่นด้วยเครื่องจักรเบางานก่อสร้างชลประทาน
6)ตารางคำนวณอัตราราคางานเบา ฝาท่อ และเครื่องยก
7)อัตราราคางานปลูกหญ้า
8)ข้อมูลหรือรายละเอียดประกอบการคำนวณอื่นๆสำหรับงานก่อสร้างชลประทาน
ข้อมูลประกอบจะถูกนำมาใช้ในเชิงการเพิ่มรายละเอียดของข้อมูลด้าน ปริมาณงาน(Quantity) และราคาต่อหน่วย(Unit Cost) เช่น เมื่อวัดปริมาณงานทรายถมจากแบบ จะนำมาบวกเพิ่มจากข้อมูลส่วนยุบตัวของทรายบดอัดแน่น ทำให้ราคาต่อหน่วยFinalของงานทรายถมบดอัดแน่นจะรวมปริมาตรเพิ่มเติมจากส่วนยุบตัวนี้แล้ว
ที่มา : หน้า 33 แนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง กุมภาพันธ์ 2555
13 : ค่าดำเนินการและค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร
หน้า 32 แนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง
12 : การคำนวณค่าขนส่งวัสดุก่อสร้าง
ค่าขนส่งวัสดุก่อสร้างจะถูกคำนวณจากตัวแปรหลักคือ
1)ระยะทางขนส่ง จากแหล่งวัสดุก่อสร้างไปถึงกึ่งกลางสถานที่ก่อสร้าง
2)น้ำหนัก หรือ ปริมาตร ของวัสดุก่อสร้าง
3)ค่าขนส่งจากตารางขนส่งวัสดุก่อสร้าง โดยระบุเป็น ค่าบรรทุกต่อน้ำหนัก(ตัน) และ ค่าบรรทุกต่อปริมาตร(ลบ.ม.) ตามระยะขนส่ง(กม.)
ตารางค่าขนส่งวัสดุก่อสร้าง จะระบุรายละเอียดจำแนกตามข้อมูลดังนี้
1)ประเภทของรถบรรทุก คือ รถบรรทุก 6ล้อ(กรณีน้ำหนักรวมไม่เกิน15ตัน) , รุถบรรทุก 10ล้อ(กรณีน้ำหนักรวมไม่เกิน25ตัน) ,รถบรรทุก 10ล้อและรถลากพ่วง(กรณีน้ำหนักรวมไม่เกิน47ตัน)
2)ภูมิประเทศ คือ ที่ราบ ผิวลาดยาง และการจราจรปกติ,
3)ราคน้ำมันเชื้อเพลิงโซล่า(น้ำมันดีเซล) ที่อำเภอเมืองของจังหวัดที่ทำการก่อสร้าง
ในกรณีผิวทางขนส่งมิใช่ที่ราบ ผิวลาดยาง/คอนกรีต และการจราจรปกติ ค่าขนส่งปกตินั้นจะต้องถูกคำนวณเพื่อปรับค่าขนส่งให้สอดคล้องกับสภาพผิวทาง ลักษณะภูมิประเทศ ตามจริง
ค่าขนส่งจึงสามารถจำแนกอย่างละเอียดขึ้น เช่น
1)ขนส่งโดยรถบรรทุก 6ล้อ ผิวทางลาดยาง/คอนกรีต ภูมิประเทศที่ราบ/ลูกเนิน/ภูเขา
2)ขนส่งโดยรถบรรทุก 10ล้อ ผิวทางลาดยาง/คอนกรีต ภูมิประเทศที่ราบ/ลูกเนิน/ภูเขา
3)ขนส่งโดยรถบรรทุก 10ล้อ มีลากพ่วง ผิวทางลาดยาง/คอนกรีต ภูมิประเทศที่ราบ/ลูกเนิน/ภูเขา
ทางลูกเนิน หมายถึงทางที่มีความลาดชัน 4-8%
ทางภูเขาหมายถึงทางที่มีความลาดชันมากกว่า 8%
สำหรับตัวแปรด้านสภาพความหนานแน่นการจราจร อาจใช้การคำนวณ%ลดประสิทธิภาพของการขนส่งจากสภาพความหนาแน่นในแต่ละพื้นที่ในช่วงการก่อสร้าง
ที่มา : หน้า 80-82 แนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง กุมภาพันธ์ 2555
1)ระยะทางขนส่ง จากแหล่งวัสดุก่อสร้างไปถึงกึ่งกลางสถานที่ก่อสร้าง
2)น้ำหนัก หรือ ปริมาตร ของวัสดุก่อสร้าง
3)ค่าขนส่งจากตารางขนส่งวัสดุก่อสร้าง โดยระบุเป็น ค่าบรรทุกต่อน้ำหนัก(ตัน) และ ค่าบรรทุกต่อปริมาตร(ลบ.ม.) ตามระยะขนส่ง(กม.)
ตารางค่าขนส่งวัสดุก่อสร้าง จะระบุรายละเอียดจำแนกตามข้อมูลดังนี้
1)ประเภทของรถบรรทุก คือ รถบรรทุก 6ล้อ(กรณีน้ำหนักรวมไม่เกิน15ตัน) , รุถบรรทุก 10ล้อ(กรณีน้ำหนักรวมไม่เกิน25ตัน) ,รถบรรทุก 10ล้อและรถลากพ่วง(กรณีน้ำหนักรวมไม่เกิน47ตัน)
2)ภูมิประเทศ คือ ที่ราบ ผิวลาดยาง และการจราจรปกติ,
3)ราคน้ำมันเชื้อเพลิงโซล่า(น้ำมันดีเซล) ที่อำเภอเมืองของจังหวัดที่ทำการก่อสร้าง
ในกรณีผิวทางขนส่งมิใช่ที่ราบ ผิวลาดยาง/คอนกรีต และการจราจรปกติ ค่าขนส่งปกตินั้นจะต้องถูกคำนวณเพื่อปรับค่าขนส่งให้สอดคล้องกับสภาพผิวทาง ลักษณะภูมิประเทศ ตามจริง
ค่าขนส่งจึงสามารถจำแนกอย่างละเอียดขึ้น เช่น
1)ขนส่งโดยรถบรรทุก 6ล้อ ผิวทางลาดยาง/คอนกรีต ภูมิประเทศที่ราบ/ลูกเนิน/ภูเขา
2)ขนส่งโดยรถบรรทุก 10ล้อ ผิวทางลาดยาง/คอนกรีต ภูมิประเทศที่ราบ/ลูกเนิน/ภูเขา
3)ขนส่งโดยรถบรรทุก 10ล้อ มีลากพ่วง ผิวทางลาดยาง/คอนกรีต ภูมิประเทศที่ราบ/ลูกเนิน/ภูเขา
ทางลูกเนิน หมายถึงทางที่มีความลาดชัน 4-8%
ทางภูเขาหมายถึงทางที่มีความลาดชันมากกว่า 8%
สำหรับตัวแปรด้านสภาพความหนานแน่นการจราจร อาจใช้การคำนวณ%ลดประสิทธิภาพของการขนส่งจากสภาพความหนาแน่นในแต่ละพื้นที่ในช่วงการก่อสร้าง
ที่มา : หน้า 80-82 แนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง กุมภาพันธ์ 2555
11 : ค่าแรงงานและบัญชีค่าแรงงาน/ค่าดำเนินการ
การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของภาครัฐ ให้ใช้อัตราค่าแรงงาน/ค่าดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามที่หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง และตามที่คณะกรรมการกำกับหลักเกณฑ์และตรวจสอบราคางานก่อสร้าง หรือคณะอนุกรรมการ หรือหน่วยงานที่คณธกรรมการกำกับหลักเกณฑ์และตรวจสอบราคากลางงานก่อสร้างมอบหมายกำหนด
กระทรางการคลัง(กรมบัญชีกลาง) ปรับปรุงบัญชีค่าแรงงาน/ค่าดำเนินการสำหรับการถอดแบบคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง และแจ้งเวียนให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐทราบและถือปฏิบัติ ตามความเหมาะสมและสอดคล้องตามประกาศค่าแรงขั้นต่ำและ/หรือสภาวะการณ์ทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีด้านการส่อสร้างที่เปลี่ยนแปลงไป
บัญชีค่าแรงงาน/ค่าดำเนินการ สำหรับการถอดแบบคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง จึงถูกจัดทำขึ้นเพื่อใช้อ้างอิง หากรายการใดไม่มีในบัญชีค่าแรง/ค่าเนินการ ให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางคำนวณจากยอดค่าวัสดุร้อยละ 30-37 มาเป็นค่าแรงงาน ส่วนจะคำนวณจากยอดค่าวัสดุร้อยละเท่าใด ระหว่างร้อยละ30-37 นั้น ให้ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางได้ตามความเหมาะสมและหรือสอดคล้องตามระดับฝีมือและหรือความขาดแคลนของแรงงานสำหรับรายการก่อสร้างงานนั้นๆ
ประเภทของค่าแรง/ค่าดำเนินการ ฉบับ กุมภาพันธ์ 2555 มี 5 หมวด ดังนี้
1)งานโครงสร้างวิศวกรรม
2)งานสถาปัตยกรรม
3)งานระบบสุขาภิบาลและระบบดับเพลิง
4)งานระบบไฟฟ้าและสื่อสาร
5)งานระบบปรับอากาศและระบบระบายอากาศ
ที่มา : หน้า 32 , 34 แนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง กุมภาพันธ์ 2555
กระทรางการคลัง(กรมบัญชีกลาง) ปรับปรุงบัญชีค่าแรงงาน/ค่าดำเนินการสำหรับการถอดแบบคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง และแจ้งเวียนให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐทราบและถือปฏิบัติ ตามความเหมาะสมและสอดคล้องตามประกาศค่าแรงขั้นต่ำและ/หรือสภาวะการณ์ทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีด้านการส่อสร้างที่เปลี่ยนแปลงไป
บัญชีค่าแรงงาน/ค่าดำเนินการ สำหรับการถอดแบบคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง จึงถูกจัดทำขึ้นเพื่อใช้อ้างอิง หากรายการใดไม่มีในบัญชีค่าแรง/ค่าเนินการ ให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางคำนวณจากยอดค่าวัสดุร้อยละ 30-37 มาเป็นค่าแรงงาน ส่วนจะคำนวณจากยอดค่าวัสดุร้อยละเท่าใด ระหว่างร้อยละ30-37 นั้น ให้ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางได้ตามความเหมาะสมและหรือสอดคล้องตามระดับฝีมือและหรือความขาดแคลนของแรงงานสำหรับรายการก่อสร้างงานนั้นๆ
ประเภทของค่าแรง/ค่าดำเนินการ ฉบับ กุมภาพันธ์ 2555 มี 5 หมวด ดังนี้
1)งานโครงสร้างวิศวกรรม
2)งานสถาปัตยกรรม
3)งานระบบสุขาภิบาลและระบบดับเพลิง
4)งานระบบไฟฟ้าและสื่อสาร
5)งานระบบปรับอากาศและระบบระบายอากาศ
ที่มา : หน้า 32 , 34 แนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง กุมภาพันธ์ 2555
10 : การวัดระยะทางขนส่ง
กรณีมีการใช้วัสดุก่อสร้างในปริมาณมาก เช่น หินใหญ่ ทรายถมอัดแน่น สำหรับงานก่อสร้างเขื่อน ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางจึงควรสืบหาข้อมูลราคาและแหล่งวัสดุก่อสร้างตามจริงในสองหัวข้อคือ
1)ราคาต่อหน่วย เช่น ราคาหินใหญ่ต่อลูกบาศ์กเมตร โดยยังไม่รวมค่าขนส่งและภาษีมูลค่าเพิ่ม
2)ระยะทางจากแหล่งผลิต ถึงกึ่งกลางสถานที่ก่อสร้าง สามารถใช้เวบไซต์ Google Map ค้นหาระนะห่างตามแนวถนนที่โปรแกรมของเวบไซต์คำนวณให้ได้ การวัดระยะทางขนส่งนี้ต่างจากการวัดระยะห่างเป็นแนวเส้นตรงจากสุดทั้งสอง เพราะการขนส่งบนถนนจะต้องมีทางตรง ทางเลี้ยวต่างๆตามแนวถนนจริง
จากนั้นนำข้อมูลระยะทางและราคาน้ำมันดีเซลที่อำเภอเมืองของจังหวัดนั้น มาคำนวณค่าขนส่ง ราคาวัสดุสุทธิที่นำมาใช้ในการคำนวณราคากลาง = ราคาวัสดุที่แหล่งผลิต + ค่าขนส่งจากแหล่งผลิตมายังสถานที่ก่อสร้าง
ทั้งนี้ให้เทียบกับราคาจากสำนักดัชนีเศรษฐิกจการค้าและสำนักงานพาณิชย์จังหวัด ให้เลือกใช้ราคาที่ต่ำกว่า
โดยทั่วไปในทางปฏิบัติหากระยะทางจากแหล่งผลิตถึงสถานที่ก่อสร้างน้อยกว่า 10 กม. จะไม่คิดค่าขนส่งบวกเพิ่มในราคาวัสดุสุทธิ
ที่มา : หน้า 24 แนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง กุมภาพันธ์ 2555
1)ราคาต่อหน่วย เช่น ราคาหินใหญ่ต่อลูกบาศ์กเมตร โดยยังไม่รวมค่าขนส่งและภาษีมูลค่าเพิ่ม
2)ระยะทางจากแหล่งผลิต ถึงกึ่งกลางสถานที่ก่อสร้าง สามารถใช้เวบไซต์ Google Map ค้นหาระนะห่างตามแนวถนนที่โปรแกรมของเวบไซต์คำนวณให้ได้ การวัดระยะทางขนส่งนี้ต่างจากการวัดระยะห่างเป็นแนวเส้นตรงจากสุดทั้งสอง เพราะการขนส่งบนถนนจะต้องมีทางตรง ทางเลี้ยวต่างๆตามแนวถนนจริง
จากนั้นนำข้อมูลระยะทางและราคาน้ำมันดีเซลที่อำเภอเมืองของจังหวัดนั้น มาคำนวณค่าขนส่ง ราคาวัสดุสุทธิที่นำมาใช้ในการคำนวณราคากลาง = ราคาวัสดุที่แหล่งผลิต + ค่าขนส่งจากแหล่งผลิตมายังสถานที่ก่อสร้าง
ทั้งนี้ให้เทียบกับราคาจากสำนักดัชนีเศรษฐิกจการค้าและสำนักงานพาณิชย์จังหวัด ให้เลือกใช้ราคาที่ต่ำกว่า
โดยทั่วไปในทางปฏิบัติหากระยะทางจากแหล่งผลิตถึงสถานที่ก่อสร้างน้อยกว่า 10 กม. จะไม่คิดค่าขนส่งบวกเพิ่มในราคาวัสดุสุทธิ
ที่มา : หน้า 24 แนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง กุมภาพันธ์ 2555
9 : ราคาและแหล่งวัสดุก่อสร้าง
ราคาและแหล่งวัสุดก่อสร้างสำหรับการประมาณราคากลางค่าก่อสร้าง งานภาครัฐมีข้อกำหนดดังนี้
1)ราคาวัสดุก่อสร้างให้ใช้ราคาปัจจุบัน ในขณะที่คำนวณราคากลางงานก่อสร้างนั้น ราคาปัจจุบันหมายถึง ราคาวัสดุก่อสร้างในช่วงระยะเวลา 30วัน นับจากวันที่จัดทำรายงานสรุปการคำนวณราคากลางนั้น
2)การก่อสร้างในส่วนกลาง หมายถึงการก่อสร้างในพื้นที่ในเขตกรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ ให้เป็นไปตามข้อกำหนดดังนี้
ราคาวัสดุก่อสร้างตามที่สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ เผยแพร่
วัสดุก่อสร้างใดที่สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ไม่มีข้อมูลราคาเผยแพร่ไว้ ให้ใช้ราคาวัสดุก่อสร้างสำนักพาณิชย์จังหวัดใกล้เคียง เผยแพร่
กรณีวัสดุก่อสร้างใดที่ สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ไม่มีข้อมูลราคาเผยแพร่ไว้ ให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางสืบราคาในท้องที่ของส่วนกลาง หากไม่สามารถสืบราคาในท้องที่ของส่วนกลางได้ให้สืบราคาในท้องที่หรือจังหวัดใกล้เคียงโดยใช้ราคาต่ำสุด ทั้งนี้ให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางจัดทำบันทึกแสดงรายละเอียดของการสืบราคาและการกำหนดราคาดังกล่าวประกอบไว้ด้วย
3)การก่อสร้างในส่วนภูมิภาค หมายถึงการก่อสร้างในพื้นที่จังหวัดอื่นที่ไม่ใช่กรุงเทพมหานคร นทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ ให้เป็นไปตามข้อกำหนดดังนี้
ราคาวัสดุก่อสร้างตามที่สำนักงานพาณิชย์จังหวัดที่สถานที่ก่อสร้างตั้งอยู่ เผยแพร่
วัสดุก่อสร้างใดที่สำนักงานพาณิชย์จังหวัดที่สถานที่ก่อสร้างตั้งอยู่ ไม่มีข้อมูลราคาเผยแพร่ไว้ ให้ใช้ราคาวัสดุก่อสร้างสำนักพาณิชย์จังหวัดใกล้เคียง เผยแพร่
กรณีวัสดุก่อสร้างใดที่ สำนักงานพาณิชย์จังหวัดที่สถานที่ก่อสร้างตั้งอยู่ และสำนักงานพาณิชย์จังหวัดใกล้เคียง ไม่มีข้อมูลราคาเผยแพร่ไว้ ให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางสืบราคาในท้องที่หรือจังหวัดที่สถานที่ก่อสร้างตั้งอยู่ หากไม่สามารถสืบราคาในท้องที่หรือจังหวัดที่สถานที่ก่อสร้างตั้งอยู่ ให้สืบราคาในท้องที่หรือจังหวัด ใกล้เคียงโดยใช้ราคาต่ำสุด ทั้งนี้ให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางจัดทำบันทึกแสดงรายละเอียดของการสืบ ราคาและการกำหนดราคาดังกล่าวประกอบไว้ด้วย
4)กรณีใช้ราคาและวัสดุก่อสร้างจากแหล่งอื่นนอกขากข้อกำหนดข้างต้น หากราคารวมค่าขนส่งต่ำกว่าให้ผู้มีหน้าที่จัดทำราคากลางจัดทำบันทึกแสดงรายละเอียดของการกำหนดราคารวมทั้งเหตุผลความจำเป็นประกอบไว้ด้วย
5)หากวัสดุก่อสร้างบางรายการจะต้องถูกใช้เป็นจำนวนมาก ให้สืบราคจากแหล่งผลิต เมื่อรวมค่าขนส่งแล้วยังเป็นราคาที่ต่ำกว่าข้างต้น ให้ผู้มีหน้าทีคำนวณราคากลางใช้ราคาจากแหล่งผลิตสำหรับวัสดุก่อสร้างนั้น
6)การสืบราคา หมายถึง การดำเนินการใดๆ เพื่อให้ทราบราคาและหรือแหล่งวัสดุก่อสร้างที่มีความเป็นปัจจุบันและสอดคล้องกับราคาวัสดุก่อสร้างที่เป็นจริง
ที่มา : หน้า24 เล่ม แนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง กุมภาพันธ์ 2555
1)ราคาวัสดุก่อสร้างให้ใช้ราคาปัจจุบัน ในขณะที่คำนวณราคากลางงานก่อสร้างนั้น ราคาปัจจุบันหมายถึง ราคาวัสดุก่อสร้างในช่วงระยะเวลา 30วัน นับจากวันที่จัดทำรายงานสรุปการคำนวณราคากลางนั้น
2)การก่อสร้างในส่วนกลาง หมายถึงการก่อสร้างในพื้นที่ในเขตกรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ ให้เป็นไปตามข้อกำหนดดังนี้
ราคาวัสดุก่อสร้างตามที่สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ เผยแพร่
วัสดุก่อสร้างใดที่สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ไม่มีข้อมูลราคาเผยแพร่ไว้ ให้ใช้ราคาวัสดุก่อสร้างสำนักพาณิชย์จังหวัดใกล้เคียง เผยแพร่
กรณีวัสดุก่อสร้างใดที่ สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ไม่มีข้อมูลราคาเผยแพร่ไว้ ให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางสืบราคาในท้องที่ของส่วนกลาง หากไม่สามารถสืบราคาในท้องที่ของส่วนกลางได้ให้สืบราคาในท้องที่หรือจังหวัดใกล้เคียงโดยใช้ราคาต่ำสุด ทั้งนี้ให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางจัดทำบันทึกแสดงรายละเอียดของการสืบราคาและการกำหนดราคาดังกล่าวประกอบไว้ด้วย
3)การก่อสร้างในส่วนภูมิภาค หมายถึงการก่อสร้างในพื้นที่จังหวัดอื่นที่ไม่ใช่กรุงเทพมหานคร นทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ ให้เป็นไปตามข้อกำหนดดังนี้
ราคาวัสดุก่อสร้างตามที่สำนักงานพาณิชย์จังหวัดที่สถานที่ก่อสร้างตั้งอยู่ เผยแพร่
วัสดุก่อสร้างใดที่สำนักงานพาณิชย์จังหวัดที่สถานที่ก่อสร้างตั้งอยู่ ไม่มีข้อมูลราคาเผยแพร่ไว้ ให้ใช้ราคาวัสดุก่อสร้างสำนักพาณิชย์จังหวัดใกล้เคียง เผยแพร่
กรณีวัสดุก่อสร้างใดที่ สำนักงานพาณิชย์จังหวัดที่สถานที่ก่อสร้างตั้งอยู่ และสำนักงานพาณิชย์จังหวัดใกล้เคียง ไม่มีข้อมูลราคาเผยแพร่ไว้ ให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางสืบราคาในท้องที่หรือจังหวัดที่สถานที่ก่อสร้างตั้งอยู่ หากไม่สามารถสืบราคาในท้องที่หรือจังหวัดที่สถานที่ก่อสร้างตั้งอยู่ ให้สืบราคาในท้องที่หรือจังหวัด ใกล้เคียงโดยใช้ราคาต่ำสุด ทั้งนี้ให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางจัดทำบันทึกแสดงรายละเอียดของการสืบ ราคาและการกำหนดราคาดังกล่าวประกอบไว้ด้วย
4)กรณีใช้ราคาและวัสดุก่อสร้างจากแหล่งอื่นนอกขากข้อกำหนดข้างต้น หากราคารวมค่าขนส่งต่ำกว่าให้ผู้มีหน้าที่จัดทำราคากลางจัดทำบันทึกแสดงรายละเอียดของการกำหนดราคารวมทั้งเหตุผลความจำเป็นประกอบไว้ด้วย
5)หากวัสดุก่อสร้างบางรายการจะต้องถูกใช้เป็นจำนวนมาก ให้สืบราคจากแหล่งผลิต เมื่อรวมค่าขนส่งแล้วยังเป็นราคาที่ต่ำกว่าข้างต้น ให้ผู้มีหน้าทีคำนวณราคากลางใช้ราคาจากแหล่งผลิตสำหรับวัสดุก่อสร้างนั้น
6)การสืบราคา หมายถึง การดำเนินการใดๆ เพื่อให้ทราบราคาและหรือแหล่งวัสดุก่อสร้างที่มีความเป็นปัจจุบันและสอดคล้องกับราคาวัสดุก่อสร้างที่เป็นจริง
ที่มา : หน้า24 เล่ม แนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง กุมภาพันธ์ 2555
8 : การประยุกต์ใช้ Factor F กับงานก่อสร้างภาคเอกชน
จากส่วนประกอบหลักของการตั้งค่า Factor F ของงานก่อสร้างภาครัฐสามารถนำมาประยุกต์กับการจัดหมวด,จัดทำหัวข้อย่อยและหลักเกณฑ์สำหรับหมวดค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการดำเนินการก่อสร้างสำหรับงานภาคเอกชนไว้เป็นบัญชีมาตรฐานเพื่อประยุกต์ใช้ในแต่ละโครงการ
1)หมวดค่าอำนวยการก่อสร้าง
1.1)หมวดค่าใช้จ่ายในการทำสัญญา เช่น ค่าอากรแสตมป์ ค่าธรรมเนียมแบงค์การันตี สามารถจัดทำเป็นบัญชีมาตรฐาน ค่าใช้จ่ายช่วงการประมาณราคาค่าก่อสร้างช่วงประมูลงานเช่นค่าแบบพิมพ์เขียว ค่าจัดทำเอกสารเสนอประมูลงานอาจจัดรวมไว้ในหมวดนี้ได้
1.2)หมวดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสำนักงานสนาม ที่พักเจ้าหน้าที่ เช่น การกำหนดรูปแบบและต้นทุนมาตรฐาน เช่น อาคารสำนักงานสนามแบบตู้คอนเทนเนอร์ หรือ โรงเรือนไม้ขนาดต่างๆ ทั้งนี้ในส่วนค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ในหมวดนี้น่าจะมาจากค่าที่พักคนงานก่อสร้างหากเป็นการก่อสร้างที่พักใหม่ อย่างไรก็ตามอาจจะขึ้นอยู่กับลักษณะของแต่ละโครงการด้วย เช่น บางโครงการไม่สามารถสร้างที่พักใกล้สถานที่ก่อสร้างได้จึงต้องมีค่าใช้จ่ายในการเดินทางขนส่งคนงานเพิ่มขึ้น บางโครงการต้องมีค่าใช้จ่ายค่าเช่าที่ดินปลูกสร้างที่พัก ค่าน้ำประปา-ไฟฟ้าต่อเดือนต่อหัวมาจากสถิติของโครงการต่างๆที่ผ่านมา
1.3)หมวดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากรและสำนักงาน เนื่องด้วยการจัดการด้านบุคลากรในแต่ละหน่วยงานมีความแตกต่างกัน ควรจัดทำบัญชีรายการและค่าจ้างมาตรฐานในแต่ละอัตราซึ่งขึ้นอยู่กับฐานเงินเดือนและจำนวนโบนัสต่อปีของแต่ละบริษัท ค่าใช้จ่ายสำนักงานด้านเครื่องใช้สำนักงานสามารถจัดทำเป็นบัญชีมาตรฐานได้เช่นกัน นโยบายการเร่งรัดงานด้วยการทำงานล่วงเวลาจะแตกต่างกันไป แต่เป็นค่าใช้จ่ายที่ต้องรวมไว้ในการประมาณราคาค่าก่อสร้าง
1.4)หมวดค่าใช้จ่ายในการประกันภัยในงานก่อสร้าง เช่น ประกันทรัพย์สิน ประกันชีวิตผู้ที่เกี่ยวข้อง สามารถรวบรวมข้อมูลจากPartnerด้านการประกันภัยในช่วงจัดทำราคากลางเพื่อเสนอประมูลงานได้
2)หมวดค่าดอกเบี้ย
ค่าใช้จ่ายกรณีผู้รับเหมากู้เงินจากสถาบันการเงินเพื่อเป็นทุนหมุนเวียนใน การเตรียมการก่อสร้างรวมทั้งจัดหาอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ อัตราดอกเบี้ยจะแตกต่างงกันไปตามแต่ละบริษัท เช่นบริษัทมหาชนสามารถระดมเงินทุนในอัตราต้นทุนที่ต่ำกว่าอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารได้ บางบริษัทที่มีเครดิตที่ดีต่อสถาบันการเงินผู้ให้กู้ จะมีต้นทุนค่าดอกเบี้ยนี้ต่ำกว่ารายอื่นที่ถูกประเมินว่ามีเครดิตไม่ดี
3)หมวดค่ากำไร
%กำไรของแต่ละงานจากมูลค่าค่าก่อสร้างรวมขึ้นอยู่กับนโยบายของบริษัทในแต่ละงาน งานบางโครงการอาจกำหนดอัตรากำไรไว้ไม่สูงเพื่อเพิ่มโอกาสในการรับงานก่อสร้างนั้น บางโครงการอาจสามารถกำหนด%กำไรได้สูงขึ้นหากมีการจัดการต้นทุนค่าก่อสร้างด้านอื่นๆได้ดี
4)หมวดค่าภาษี
ค่าภาษีที่ผู้รับเหมาต้องจ่ายภาษีมูลค่าเพิ่ม(vat)ในอัตราปัจจุบัน ร้อยละ7 โดยหัก ณ ที่จ่าย ภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นอีกหัวข้อหนึ่งของการประมาณราคารวมในการก่อสร้าง
ในภาพรวมการประมาณราคาค่าก่อสร้างจึงอาจคิดประมาณการกำไรเบื้องต้นก่อนการคิดค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการนี้ก่อน เช่น ค่ากำไรเบื้องต้น = ค่าก่อสร้างรวม - ต้นทุนทางตรงในการก่อสร้างจากนั้นค่ากำไรเบื้องต้นนี้จะถูกคำนวณลดลงด้วยต้นทุนทางอ้อมหรือค่าใช้จ่ายในการบริหารการดำเนินการก่อสร้างตามหมวดหลักๆ4ด้านข้างต้น
1)หมวดค่าอำนวยการก่อสร้าง
1.1)หมวดค่าใช้จ่ายในการทำสัญญา เช่น ค่าอากรแสตมป์ ค่าธรรมเนียมแบงค์การันตี สามารถจัดทำเป็นบัญชีมาตรฐาน ค่าใช้จ่ายช่วงการประมาณราคาค่าก่อสร้างช่วงประมูลงานเช่นค่าแบบพิมพ์เขียว ค่าจัดทำเอกสารเสนอประมูลงานอาจจัดรวมไว้ในหมวดนี้ได้
1.2)หมวดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสำนักงานสนาม ที่พักเจ้าหน้าที่ เช่น การกำหนดรูปแบบและต้นทุนมาตรฐาน เช่น อาคารสำนักงานสนามแบบตู้คอนเทนเนอร์ หรือ โรงเรือนไม้ขนาดต่างๆ ทั้งนี้ในส่วนค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ในหมวดนี้น่าจะมาจากค่าที่พักคนงานก่อสร้างหากเป็นการก่อสร้างที่พักใหม่ อย่างไรก็ตามอาจจะขึ้นอยู่กับลักษณะของแต่ละโครงการด้วย เช่น บางโครงการไม่สามารถสร้างที่พักใกล้สถานที่ก่อสร้างได้จึงต้องมีค่าใช้จ่ายในการเดินทางขนส่งคนงานเพิ่มขึ้น บางโครงการต้องมีค่าใช้จ่ายค่าเช่าที่ดินปลูกสร้างที่พัก ค่าน้ำประปา-ไฟฟ้าต่อเดือนต่อหัวมาจากสถิติของโครงการต่างๆที่ผ่านมา
1.3)หมวดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากรและสำนักงาน เนื่องด้วยการจัดการด้านบุคลากรในแต่ละหน่วยงานมีความแตกต่างกัน ควรจัดทำบัญชีรายการและค่าจ้างมาตรฐานในแต่ละอัตราซึ่งขึ้นอยู่กับฐานเงินเดือนและจำนวนโบนัสต่อปีของแต่ละบริษัท ค่าใช้จ่ายสำนักงานด้านเครื่องใช้สำนักงานสามารถจัดทำเป็นบัญชีมาตรฐานได้เช่นกัน นโยบายการเร่งรัดงานด้วยการทำงานล่วงเวลาจะแตกต่างกันไป แต่เป็นค่าใช้จ่ายที่ต้องรวมไว้ในการประมาณราคาค่าก่อสร้าง
1.4)หมวดค่าใช้จ่ายในการประกันภัยในงานก่อสร้าง เช่น ประกันทรัพย์สิน ประกันชีวิตผู้ที่เกี่ยวข้อง สามารถรวบรวมข้อมูลจากPartnerด้านการประกันภัยในช่วงจัดทำราคากลางเพื่อเสนอประมูลงานได้
2)หมวดค่าดอกเบี้ย
ค่าใช้จ่ายกรณีผู้รับเหมากู้เงินจากสถาบันการเงินเพื่อเป็นทุนหมุนเวียนใน การเตรียมการก่อสร้างรวมทั้งจัดหาอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ อัตราดอกเบี้ยจะแตกต่างงกันไปตามแต่ละบริษัท เช่นบริษัทมหาชนสามารถระดมเงินทุนในอัตราต้นทุนที่ต่ำกว่าอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคารได้ บางบริษัทที่มีเครดิตที่ดีต่อสถาบันการเงินผู้ให้กู้ จะมีต้นทุนค่าดอกเบี้ยนี้ต่ำกว่ารายอื่นที่ถูกประเมินว่ามีเครดิตไม่ดี
3)หมวดค่ากำไร
%กำไรของแต่ละงานจากมูลค่าค่าก่อสร้างรวมขึ้นอยู่กับนโยบายของบริษัทในแต่ละงาน งานบางโครงการอาจกำหนดอัตรากำไรไว้ไม่สูงเพื่อเพิ่มโอกาสในการรับงานก่อสร้างนั้น บางโครงการอาจสามารถกำหนด%กำไรได้สูงขึ้นหากมีการจัดการต้นทุนค่าก่อสร้างด้านอื่นๆได้ดี
4)หมวดค่าภาษี
ค่าภาษีที่ผู้รับเหมาต้องจ่ายภาษีมูลค่าเพิ่ม(vat)ในอัตราปัจจุบัน ร้อยละ7 โดยหัก ณ ที่จ่าย ภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นอีกหัวข้อหนึ่งของการประมาณราคารวมในการก่อสร้าง
ในภาพรวมการประมาณราคาค่าก่อสร้างจึงอาจคิดประมาณการกำไรเบื้องต้นก่อนการคิดค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการนี้ก่อน เช่น ค่ากำไรเบื้องต้น = ค่าก่อสร้างรวม - ต้นทุนทางตรงในการก่อสร้างจากนั้นค่ากำไรเบื้องต้นนี้จะถูกคำนวณลดลงด้วยต้นทุนทางอ้อมหรือค่าใช้จ่ายในการบริหารการดำเนินการก่อสร้างตามหมวดหลักๆ4ด้านข้างต้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)